การเปรียบเทียบการหาค่าความร้อนแบบกรอสในตัวอย่างชีวมวลระหว่างวิธีทดสอบมาตรฐาน ISO 18125 และ ASTM D5865

ผู้แต่ง

  • วชิรพันธุ์ พันธุ์กระวี กรมวิทยาศาสตร์บริการ

DOI:

https://doi.org/10.60136/bas.v10.2021.146

คำสำคัญ:

ค่าความร้อนแบบกรอส, ชีวมวล

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้เปรียบเทียบค่าความร้อนแบบกรอสที่ทดสอบด้วยวิธีทดสอบมาตรฐาน ISO 18125 และ ASTM D5865 ของชีวมวล 5 ชนิด ได้แก่ ชานอ้อย (A) ใบอ้อย (B) ไม้ยางพารา (C) แกลบ (D) และกะลามะพร้าว (E) ผลการศึกษาได้ค่าความ ร้อนแบบกรอสเรียงตามลําดับดังนี้ ไม้ยางพารา > ชานอ้อย > ใบอ้อย > แกลบ > กะลามะพร้าว ร้อยละของส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานสัมพัทธ์ของทั้ง 2 วิธี มีค่าใกล้เคียงกัน (ASTM ค่าอยู่ระหว่าง 0.07 - 0.21% และ ISO อยู่ระหว่าง 0.08-0.18%) เมื่อ เปรียบเทียบค่าความร้อนจากการทดสอบทั้งสองวิธีด้วยวิธีทางสถิติ t-test พบว่า ค่า tcal < tcritical แสดงว่าวิธีทดสอบมาตรฐาน ทั้งสองให้ผลการทดสอบค่าความร้อนแบบกรอสในตัวอย่างชีวมวลที่ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ดังนั้น วิธีทดสอบมาตรฐาน ASTM D5865 สามารถนํามาปรับใช้ในการทดสอบค่าความร้อนแบบกรอสในตัวอย่าง ชีวมวลได้

References

INTERNATIONAL ORGANIZATION FOR STANDARDIZATION. ISO 18125:2017. Solid biofuels – Determination of calorific value. 2017.

INTERNATIONAL ORGANIZATION FOR STANDARD IZATION. ISO 1928:2020. Coal and coke - Determination of gross calorific value. 2020.

ASTM INTERNATIONAL. ASTM D5865-19. Standard test method for gross calorific value of coal and coke. 2019.

ASTM INTERNATIONAL. ASTM E711-87 (1996). Standard test method for gross calorific value of refuse-derived fuel by the bomb calorimeter. 1996.

STANDARDS AUSTRALIA. AS 1038.5-1998. Coal and coke - Analysis and testing gross calorific value. 1998.

GERMAN INSTITUTE FOR STANDARDIZATION. DIN 51900-2:2003-05. Determining the gross calorific value of solid and liquid fuels using the isoperibol or static jacket calorimeter and calculation of net calorific value. 2003-05.

สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. มอก. 2772-2560. เชื้อเพลิงชีวมวลแข็งอัดเม็ด. 2560.

KPALO, S.Y., M.F. ZAINUDDIN, L.A. MANAF and A.M. ROSLAN. Production and characterization of hybrid briquettes from corncobs and oil palm trunk bark under a low pressure densification technique. Sustainability. 2020, 12, 2468.

JOSE, G., G. IVAN, A. MARIA and B. JAVIER. Simulation of adiabatic gasification of corn straw using air-steam blends as an oxidizing agent. Global Journal of Engineering Sciences. 2019, 1(3).

BADAN, P., T. THEPCHATRI, E. TANAVAT, M. HARUTHAITHANASAN and K. HARUTHAITHANASAN. Fuel properties of some native tree species for biomass energy in Thailand. Thai Journal of Agricultural Science. 2020, 53(1), 53-57.

MONDRAGON-VALERO, A., B. VELAZQUEZ MARTI, D. M. SALAZAR and I. LOPEZ-CORTES. Influence of fertilization and rootstocks in the biomass energy characterization of Prunus dulcis (Miller). Energies. 2018, 11(5), 1189.

ตารางเปรียบเทียบค่าความร้อยแบบกรอส

Downloads

เผยแพร่แล้ว

26-09-2022

How to Cite

พันธุ์กระวี ว. (2022). การเปรียบเทียบการหาค่าความร้อนแบบกรอสในตัวอย่างชีวมวลระหว่างวิธีทดสอบมาตรฐาน ISO 18125 และ ASTM D5865 . วารสารวิทยาศาสตร์ประยุกต์ กรมวิทยาศาสตร์บริการ, 10(10), 52–61. https://doi.org/10.60136/bas.v10.2021.146