การตรวจหาปริมาณสารแคนนาบินอยด์ในเครื่องดื่มจากกัญชงด้วยเทคนิคอัลตราไฮเพอร์ฟอร์แมนซ์ลิควิดโครมาโทกราฟี-แทนเดมแมสสเปกโทรเมตรี

ผู้แต่ง

  • จุฑาทิพย์ ลาภวิบูลย์สุข กองผลิตภัณฑ์อาหารและวัสดุสัมผัสอาหาร กรมวิทยาศาสตร์บริการ
  • พัฒน์นิภา วงค์พิชัย กองผลิตภัณฑ์อาหารและวัสดุสัมผัสอาหาร กรมวิทยาศาสตร์บริการ
  • สมภพ ลาภวิบูลย์สุข กองผลิตภัณฑ์อาหารและวัสดุสัมผัสอาหาร กรมวิทยาศาสตร์บริการ

DOI:

https://doi.org/10.60136/bas.v12.2023.316

คำสำคัญ:

แคนนาบิไดออล, เตตราไฮโดรแคนนาบินอล, ซีบีดี, ทีเอชซี, เครื่องดื่ม, ลิควิด โครมาโทกราฟี-แทนเดมแมสสเปกโทรเมตรี

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้ได้ศึกษาการเตรียมตัวอย่างและความเหมาะสมของเทคนิคลิควิดโครมาโทกราฟี-แทนเดมแมสสเปกโทรเมตรีในการตรวจหาปริมาณสารแคนนาบินอยด์ในเครื่องดื่มจากกัญชง โดยทำการตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีโดยใช้  In-house method based on AOAC (2020) 2018.11 และมีความถูกต้องอยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับตาม Commission (EU) 2002/657/EC ได้ค่าร้อยละการคืนกลับเฉลี่ย สำหรับ cannabidiol (CBD) เท่ากับ 99.5  98.4 และ 98.0   (-)-gif.latex?\Delta9-tetrahydrocannabinol (gif.latex?\Delta9-THC)  เท่ากับ 98.4  97.3 และ 96.9   (-)-gif.latex?\Delta8-tetrahydrocannabinol  (gif.latex?\Delta8-THC) เท่ากับ 93.0 100.4 และ 100.0  (-)-trans-delta-9-THC carboxylic acid A (THCA-A) เท่ากับ 85.0  99.1 และ 100.8 ที่ระดับความเข้มข้น 0.10  50 และ 100 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ตามลำดับ ความเที่ยงอยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับ และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานสัมพัทธ์มีค่าอยู่ระหว่างร้อยละ 3.59 – 9.78 นอกจากนี้ขีดจำกัดของการตรวจพบและขีดจำกัดของการหาปริมาณ เท่ากับ 0.010 และ 0.10 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ตามลำดับ  จากผลการวิจัยแสดงว่าวิธีนี้มีความน่าเชื่อถือ และเหมาะสมสำหรับการตรวจหาปริมาณสารแคนนาบินอยด์ในเครื่องดื่มจากกัญชง ปริมาณสารแคนนาบินอยด์ที่ตรวจพบในตัวอย่าง อยู่ในช่วง ไม่พบ ถึง 4.10 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม

References

กัญชง-กัญชา และประวัติความเป็นมา [อินเทอร์เน็ต]. [ม.ป.ป.] [เข้าถึงเมื่อ 17 กรกฎาคม 2564]. เข้าถึงได้จาก: https://www.oncb.go.th/ncsmi/hemp7/กัญ ชง-กัญชา.pdf

คำแนะนำสำหรับแพทย์ การใช้กัญชาทางการแพทย์ [อินเทอร์เน็ต]. 2562 [เข้าถึงเมื่อ 1 สิงหาคม 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://tmc.or.th/pdf/fact/guideline_cannabis_101062.pdf

เรื่องน่ารู้กัญชาทางการแพทย์ กัญชงพืชเศรษฐกิจ [อินเทอร์เน็ต]. 2564 [เข้าถึงเมื่อ 1 สิงหาคม 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://mnfda.fda.moph.go.th/narcotic/wp-content/uploads/2021/06/Ebook64_AW1CNB-Hemp.pdf

กระทรวงสาธารณสุข. ประกาศเรื่อง ระบุชื่อยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 พ.ศ. 2563 [อินเทอร์เน็ต]. 2563 [เข้าถึงเมื่อ 15 สิงหาคม 2565]. เข้าถึงได้จาก: http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2563/E/290/T_0033.PDF

กระทรวงสาธารณสุข. ประกาศ (ฉบับที่ 424) พ.ศ. 2564 เรื่อง กำหนดอาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย [อินเทอร์เน็ต]. 2564 [เข้าถึงเมื่อ 22 สิงหาคม 2565]. เข้าถึงได้จาก: http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2564/E/045/T_0032.PDF

กระทรวงสาธารณสุข. ประกาศ (ฉบับที่ 425) พ.ศ. 2564 เรื่อง เมล็ดกัญชง น้ำมันจากเมล็ดกัญชง โปรตีนจากเมล็ดกัญชง และผลิตภัณฑ์อาหาร ที่มีส่วนประกอบของเมล็ดกัญชง น้ำมันจากเมล็ดกัญชง หรือโปรตีนจากเมล็ดกัญชง [อินเทอร์เน็ต]. 2564 [เข้าถึงเมื่อ 22 สิงหาคม 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://ratchakitcha2.soc.go.th/pdfdownload/?id=17159442

กระทรวงสาธารณสุข. ประกาศ (ฉบับที่ 427) พ.ศ. 2564 เรื่อง ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของส่วนของกัญชาหรือกัญชง [อินเทอร์เน็ต]. 2564 [เข้าถึงเมื่อ 22 สิงหาคม 2565]. เข้าถึงได้จาก: http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2564/E/168/T_0022.PDF

กระทรวงสาธารณสุข. ประกาศ (ฉบับที่ 428) พ.ศ. 2564 เรื่อง มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อนชนิดสารเตตราไฮโดรแคนนาบินอลและสารแคนนาบิไดออล [อินเทอร์เน็ต]. 2564 [เข้าถึงเมื่อ 22 สิงหาคม 2565]. เข้าถึงได้จาก: http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2564/E/168/T_0025.PDF

กระทรวงสาธารณสุข. ประกาศ (ฉบับที่ 429) พ.ศ. 2564 เรื่อง ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีสารสกัดแคนนาบิไดออลเป็นส่วนประกอบ [อินเทอร์เน็ต]. 2564 [เข้าถึงเมื่อ 22 สิงหาคม 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://ratchakitcha2.soc.go.th/pdfdownload/?id=138D198S0000000000900

กระทรวงสาธารณสุข. ประกาศ (ฉบับที่ 438) พ.ศ. 2565 เรื่อง ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของส่วนของกัญชาหรือกัญชง (ฉบับที่ 2) [อินเทอร์เน็ต]. 2565 [เข้าถึงเมื่อ 21 พฤศจิกายน 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://ratchakitcha2.soc.go.th/pdfdownload/?id=139D251S0000000003100

กระทรวงสาธารณสุข. ประกาศ (ฉบับที่ 439) พ.ศ. 2565 เรื่อง ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีสารสกัดแคนนาบิไดออลเป็นส่วนประกอบ (ฉบับที่ 2) [อินเทอร์เน็ต]. 2565 [เข้าถึงเมื่อ 21 พฤศจิกายน 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://ratchakitcha2.soc.go.th/pdfdownload/?id=139D251S0000000003400

Vaclavik L, Benes F, Fenclova M, Hricko J, Krmela A, Svobodova V, et al. Quantitation of cannabinoids in cannabis dried plant materials, concentrates, and oils using liquid chromatography-diode array detection technique with optional mass spectrometric detection: Single-laboratory validation study, first action 2018.11. J AOAC Int. 2019;102:1822–33.

AOAC International. Cannabinoids in cannabis sativa dried flowers and oils. AOAC Official Method 2018.10. New York: AOAC Publication; 2020.

AOAC International Standard method performance requirements (SMPRs) for quantitation of cannabinoids in cannabis concentrates. AOAC SMPRR 2017.001 [Internet]. 2017 [cited 2022 Aug 24]. Available from: https://www.aoac.org/wp-content/uploads/2020/11/SMPR202017_001.pdf

AOAC International. Standard method performance requirements (SMPRs) for quantitation of cannabinoids in dried plant materials. AOAC SMPRR 2017.002 [Internet]. 2017 [cited 2022 Aug 24]. Available from: https://www.aoac.org/wp-content/uploads/2020/11/SMPR202017_002.pdf

Mcrae G, Melanson JE. Quantitative determination and validation of 17 cannabinoids in cannabis and hemp using liquid chromatography-tandem mass spectrometry. Anal Bioanal Chem. 2020;412:7381-93.

Christinat N, Savoy MC, Mottier P. Development, validation and application of a LC-MS/MS method for quantification of 15 cannabinoids in food. Food Chem. 2020;318:126469.

สกุลรัตน์ สมสันติสุข, อัจฉรี อินแก้ว, เสาวณีย์ วาจาสิทธิ์ สุวิมล หมวดหม๊ะ, กัญญารัตน์ เชื้อกูลชาติ, วิทวัส วังแก้วหิรัญ, และคณะ. การพัฒนาและทดสอบความถูกต้องของวิธีวิเคราะห์สารกลุ่มแคนนาบินอยด์ในน้ำมะพร้าว โดยเทคนิค LC-MS/MS. วารสารกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์. 2564;63:556–70.

Pisciottano IDM, Guadagnuolo G, Soprano V, Esposito M, Gallo P. A survey of ∆9-THC and relevant cannabinoids in products from the Italian market: A study by LC-MS/MS of food, beverages and feed. Food Chem. 2021;346:128898.

Meng Q, Buchanan B, Zuccolo J, Poulin MM, Gabriele J, Baranowski DC. A reliable and validated LC-MS/MS method for the simultaneous quantification of 4 cannabinoids in 40 consumer products. PloS One. 2018;13:e0196396.

AOAC International. Quantitation of cannabinoids in Cannabis dried plant materials, concentrates, and oils. AOAC Official Method 2018.11. New York: AOAC Publication; 2020.

Magnusson B, Örnemark U, editors. Eurachem guide: The fitness for purpose of analytical methods A laboratory guide to method validation and related topics. 2nd ed. [place unknown]: [publisher unknown]; 2014.

European Commission. Commission decision of 12 August 2002 implementing council directive 96/23/EC concerning the performance of analytical methods and the interpretation of results (2002/657/ EC) [Internet]. 2002 [cited 2022 Aug 24 ]. Available from: https://op.europa.eu/en/publication-detail/-/publication/ed928116-a955-4a84-b10a-cf7a82bad858/language-en

กราฟแสดงช่วงการใช้งานของการตรวจวัด CBD 9-THC 8-THC และ THCA-A ระหว่างความสัมพันธ์ ของความเข้มข้นที่เติมและค่าที่วัดได้ ในหน่วย มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม

Downloads

เผยแพร่แล้ว

26-04-2023

How to Cite

ลาภวิบูลย์สุข จ., วงค์พิชัย พ., & ลาภวิบูลย์สุข ส. (2023). การตรวจหาปริมาณสารแคนนาบินอยด์ในเครื่องดื่มจากกัญชงด้วยเทคนิคอัลตราไฮเพอร์ฟอร์แมนซ์ลิควิดโครมาโทกราฟี-แทนเดมแมสสเปกโทรเมตรี. วารสารวิทยาศาสตร์ประยุกต์ กรมวิทยาศาสตร์บริการ, 12(1), 1–13. https://doi.org/10.60136/bas.v12.2023.316