การประเมินสมบัติของแหล่งน้ำธรรมชาติภาคกลางและภาคเหนือสำหรับการทดสอบการสลายตัวทางชีวภาพตามมาตรฐานสากล OECD 301A

ผู้แต่ง

  • นิตยาพร สมภักดีย์ ห้องปฏิบัติการทดสอบการสลายตัวทางชีวภาพของวัสดุ ศูนย์พัฒนาและวิเคราะห์สมบัติของวัสดุ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย
  • จันทนา พันธุ์พราน ห้องปฏิบัติการทดสอบการสลายตัวทางชีวภาพของวัสดุ ศูนย์พัฒนาและวิเคราะห์สมบัติของวัสดุ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย
  • มิรันตี ดีเจริญ ห้องปฏิบัติการทดสอบการสลายตัวทางชีวภาพของวัสดุ ศูนย์พัฒนาและวิเคราะห์สมบัติของวัสดุ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย
  • นพวรรณ สระแสงตา ห้องปฏิบัติการทดสอบการสลายตัวทางชีวภาพของวัสดุ ศูนย์พัฒนาและวิเคราะห์สมบัติของวัสดุ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย
  • ชาญชัย คหาปนะ ห้องปฏิบัติการทดสอบการสลายตัวทางชีวภาพของวัสดุ ศูนย์พัฒนาและวิเคราะห์สมบัติของวัสดุ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย
  • วิทวัส เยื่อใย ห้องปฏิบัติการทดสอบการสลายตัวทางชีวภาพของวัสดุ ศูนย์พัฒนาและวิเคราะห์สมบัติของวัสดุ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย
  • ศิโรรัตน์ ตั้งสถิตพร ห้องปฏิบัติการทดสอบการสลายตัวทางชีวภาพของวัสดุ ศูนย์พัฒนาและวิเคราะห์สมบัติของวัสดุ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย
  • อัญชนา พัฒนสุพงษ์ ห้องปฏิบัติการทดสอบการสลายตัวทางชีวภาพของวัสดุ ศูนย์พัฒนาและวิเคราะห์สมบัติของวัสดุ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย

DOI:

https://doi.org/10.60136/bas.v13.2024.2991

คำสำคัญ:

เคมีภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม, โซเดียมเบนโซเอต, การสลายตัวทางชีวภาพ, โออีซีดี 301A

บทคัดย่อ

ประเมินสมบัติของแหล่งน้ำธรรมชาติสำหรับทดสอบการสลายตัวทางชีวภาพของเคมีภัณฑ์ตามมาตรฐาน OECD guideline for testing of chemicals, OECD 301A รวมการตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีทดสอบ โดยใช้ตัวอย่างน้ำธรรมชาติเป็นกล้าเชื้อ ซึ่งเก็บรวบรวมจากพื้นที่ภาคกลาง 3 จังหวัด  ได้แก่ จังหวัดนครปฐม สมุทรสาคร และราชบุรี พื้นที่ภาคเหนือ 5 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดกำแพงเพชร ลำปาง พะเยา พิจิตร และนครสวรรค์ โดยใช้สาร Sodium benzoate เป็นสารอ้างอิง ทั้งนี้ตัวอย่างน้ำธรรมชาติมีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน อีกทั้งยังเป็นไปตามข้อกำหนดมาตรฐาน OECD 301A นอกจากนี้ ค่าเฉลี่ยร้อยละการสลายตัวทางชีวภาพของสารอ้างอิง ในตัวอย่างน้ำธรรมชาติทั้ง 2 พื้นที่ ตลอดระยะเวลาการศึกษามีค่าร้อยละ 86.13-97.53 ซึ่งสอดคล้องตามเกณฑ์ที่ระบุในมาตรฐาน OECD 301A ต้องมีค่าไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ภายในระยะเวลา 28 วัน กล่าวได้ว่าน้ำธรรมชาติทั้ง 2 พื้นที่ มีสมบัติที่เหมาะสมสำหรับนำมาใช้ประเมินการสลายตัวทางชีวภาพของเคมีภัณฑ์ตามมาตรฐาน OECD 301A โดยวิธีการทดสอบในครั้งนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ประกอบการด้านผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและต่างประเทศที่ต้องการพัฒนาสมบัติผลิตภัณฑ์ด้านการสลายตัวทางชีวภาพให้ได้คุณภาพตามมาตรฐานสากล

References

จาตุรงค์ กอบแก้ว. รายงานสถานการณ์น้ำของโลก [อินเทอร์เน็ต]. 2563 [เข้าถึงเมื่อ 15 พฤษภาคม 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://www.salika.com/2020/12/02/world-water-crisis

จันทนา พันธุ์พราน, มิรันตี ดีเจริญ, สุทธิดา คงเจ้ย, ชาญชัย คหาปนะ, อัญชนา พัฒนสุพงษ์. การประเมินสมบัติของแหล่งน้ำธรรมชาติสำหรับการทดสอบการสลายตัวทางชีวภาพตามมาตรฐานสากล OECD 301A. ใน: งานประชุมวิชาการระดับชาติด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ครั้งที่ 5; วันที่ 19 ส.ค. 2565; กรุงเทพฯ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร; 2565. น. 296-301.

European Chemicals Agency (ECHA). The European Parliament and the Council of the European Union, directive 2006/121/EC of the European Parliament and of the Council of 18 December 2006 amending Council Directive 67/548/EEC on the approximation of laws, regulations and administrative provisions relating to the classification, packaging and labelling of dangerous substances in order to adapt it to Regulation (EC) No 1907/2006 concerning the registration, evaluation, authorization and restriction of chemicals (REACH) and establishing a European chemicals agency. 2006.

European Parliament. Regulation (EC) No 1272/2008 of the European Parliament and of the Council of 16 December 2008 on classification, labelling and packaging of substances and mixtures, amending and repealing Directives 67/548/EEC and 1999/45/EC, and amending Regulation (EC) No 1907/2006. 2008.

The Organisation for Economic Co-operation and Development (OECD). OECD guideline for testing of chemicals: Ready biodegradability. OECD 301, adopted by the Council on 17th July 1992. Paris: OECD; 1992.

Fang MC, Zhen LY, Nian LW, Ping SG, Qu ZG, Ying XM, et al. A comparative study of biodegradability of a carcinogenic aromatic amine (4,4-Diaminodiphenylmethane) with OECD 301 test methods. Ecotoxicol Environ Saf. 2015;111:123-30.

Reuschenbach P, Pagga U, Strotmann U. A critical comparison of respirometric biodegradation tests based on OECD 301 and related test methods. Water Res. 2003;37:1571-82.

Comber SDW, Painter H, Reynolds P. Cationic and amphoteric surfactant primary biodegradability ring test. European Union; ETD/98/502063, WRc Ref: CO 4909. 2000.

กรมควบคุมมลพิษ. วิธีการปฏิบัติสำหรับการเก็บตัวอย่างน้ำจากแหล่งน้ำ [อินเทอร์เน็ต]. 2563 [เข้าถึงเมื่อ 17 พฤษภาคม 2567]. เข้าถึงได้จาก: https://www.pcd.go.th/publication/4209

APHA, AWWA, WEF. Standard methods for the examination of water and wastewater. 23rd ed. Washington (DC): American Public Health Association; 2017. Part 2540D.

นงลักษณ์ สุวรรณพินิจ, ปรีชา สุวรรณพินิจ. จุลชีววิทยาทั่วไป. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2547.

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 กฎ ประกาศ และระเบียบที่เกี่ยวข้องด้านการควบคุมมลพิษ เรื่อง กำหนดมาตรฐานคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน. ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 111 ตอนพิเศษ 16 ง, 24 กุมภาพันธ์ 2537. 234-240.

ธีระพงษ์ บุญทองล้วน. การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ำแม่น้ำเพชรบุรี ระหว่างปี 2549-2558 [อินเทอร์เน็ต]. 2560 [เข้าถึงเมื่อ 20 พฤษภาคม 2567]. เข้าถึงได้จาก: http://lib.mnre.go.th/lib/achievement/a251.pdf

Downloads

เผยแพร่แล้ว

06-12-2024

How to Cite

สมภักดีย์ น. . ., พันธุ์พราน จ. ., ดีเจริญ ม. ., สระแสงตา น. ., คหาปนะ ช., เยื่อใย ว. ., ตั้งสถิตพร ศ., & พัฒนสุพงษ์ อ. . (2024). การประเมินสมบัติของแหล่งน้ำธรรมชาติภาคกลางและภาคเหนือสำหรับการทดสอบการสลายตัวทางชีวภาพตามมาตรฐานสากล OECD 301A. วารสารวิทยาศาสตร์ประยุกต์ กรมวิทยาศาสตร์บริการ, 13(2), 49–60. https://doi.org/10.60136/bas.v13.2024.2991