การพัฒนาผ้าสมานแผลด้วยอนุภาคนาโนไบโอแอคทีฟกลาส

ผู้แต่ง

  • ชีวภัทร ปาโมกข์ กรมวิทยาศาสตร์บริการ
  • เอกรัฐ มีชูวาศ กรมวิทยาศาสตร์บริการ
  • กนิษฐ์ ตะปะสา กรมวิทยาศาสตร์บริการ

DOI:

https://doi.org/10.60136/bas.v10.2021.157

คำสำคัญ:

ไบโอแอคทีฟกลาส, อนุภาคขนาดนาโน, ผ้าสมานแผล

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มุ่งเน้นการสังเคราะห์ไบโอแอคทีฟกลาสให้ได้อนุภาคระดับนาโนและไม่มีความเป็นผลึกซึ่งเหมาะสําหรับ การนําไปประยุกต์ใช้ทางการแพทย์ เช่น พัฒนาเป็นผ้าสมานแผล การสังเคราะห์อนุภาคนาโนไบโอแอคทีฟกลาส ถูกเตรียมโดย การผสม SiO2:CaO:P2O3ที่มีอัตราส่วนแตกต่างกัน ด้วยวิธีโซลเจลโดยกระบวนการของ Stober ซึ่งใช้แอมโมเนียมไฮดรอกไซด์ เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา วิเคราะห์ด้วยเทคนิค X-ray difraction (XRD) Scanning electron microscope (SEM) และ Fourier Transform Infrared Spectroscopy (FTIR) เพื่อวิเคราะห์ความเป็นผลึกและสัณฐานของไบโอแอคทีฟกลาสที่สังเคราะห์ได้ พบว่า จากผล XRD เมื่อผสม CaO ที่อัตราส่วน 10 เปอร์เซ็นต์โดยโมล ไม่มีความเป็นผลึก ภาพถ่าย SEM สามารถยืนยันได้ว่า อนุภาคนาโนไบโอแอคทีฟกลาสที่สังเคราะห์ได้มีลักษณะเป็นทรงกลม ขนาดเฉลี่ยที่ 200-300 นาโนเมตร และ FTIR พบพันธะ ที่สอดคล้องกับโครงสร้างโมเลกุลของไบโอแอคทีฟกลาส จากนั้นนําไบโอแอคทีฟกลาสสูตรที่ไม่มีความเป็นผลึกมาผสมกับ เซลลูโลสที่อัตราส่วนต่าง ๆ พบว่า อัตราส่วนระหว่างนาโนไบโอแอคทีฟกลาสกับเซลลูโลส อัตราส่วนที่เหมาะสมคือ 1:6 เพราะ ที่อัตราส่วนนี้อนุภาคนาโนไบโอแอคทีฟกลาสมีการกระจายตัวที่ดีในแผ่นเซลลูโลส

References

เลิศพงศ์ ลาภชีวะสิทธิ์, อุปกรณ์การแพทย์ ดาวรุ่งดวงใหม่ยกระดับอุตสาหกรรมพลาสติกไทยก้าวทันโลก [ออนไลน์]. 2559. อ้างถึงวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2564]. เข้าถึงจาก : https://www.scbeic.com/th/detail/product/2729

นิศา จันทร์พวง, พฤติกรรมในหลอดแก้วของกลาสเซรามิก ที่มีเบตาแคลเซียมไพโรฟอสเฟต. วิทยานิพนธ์ วิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิยาลัยเทคโนโลยี สุรนารี. 2550, 100 หน้า

ไฮดรอกซีแอปาไทต์ (Hydroxyapatite) [ออนไลน์]. [อ้างถึงวันที่ 25 มิถุนายน 2564]. เข้าถึงจาก: http://wongkarnpat.com/viewya.php?id=1030

Bioglass 45S5 [ออนไลน์]. [อ้างถึงวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2564]. เข้าถึงจาก https://en.wikipedia.org/wiki/Bioglass_4555

แสงสุรีย์ โรจน์สกุลวงศ์, การผลิตถาดจากเส้นใยใบสับปะรด. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2540, 91 หน้า

รัตนา อาจสมรรถ และ อิทธิพล แจ้งชัด. การสกัดเซลลูโลสจากชานอ้อย, วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์ บัณฑิต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, 2532, 58 หน้า

สวรรยา ปัญญานันท์, เกื้อกูล ปิยะจอมขวัญ และ กล้าณรงค์ ศรีรอต. การเตรียมและการศึกษาสมบัติของ เซลลูโลสจากกากมันสําปะหลังเพื่อประยุกต์ใช้ในอาหาร วารสารเกษตรพระจอมเกล้า, 2561, 36(2), 106-116.

IBRAHIM, ISMAIL A.M., A.A.F. ZIKRY and MOHAMED A. SHARAF. Preparation of spherical silica nanoparticles: Stober silica. Journal of American Science. 2010, 6(11) 985-989.

ZHENG, KAI., XINYI DAI, MIAO LU, NORBERT HÜSER, NICOLA TACCARDI and ALDO. R. BOCCACCINI. Synthesis of copper-containing bioactive glass nanoparticles using a modified Stöber method for biomedical applications. Colloids and Surfaces B: Biointerfaces. 2017, 150, 159-167.

GUO, QIAN, GUOQIANG YANG, DANCHUN HUANG, WENBIN CAO, LIN GE and LU LI. Synthesis and characterization of spherical silica nanoparticles by modified Stöber process assisted by slowhydrolysis catalyst. Colloid and Polymer Science. 2018, 296, 379-384.

PAPPAS, G.S., P. LIATSI, I.A. KARTSONAKIS, I. DANILIDIS and G. KORDAS. Synthesis and characterization of new SiO2-CaO hollow nanospheres by sol-gel method: Bioactivity of the new system. Journal of Non-Crystalline Solids. 2008, 354(2-9), 755-760.

ALEMDAR, AYSE and MOHINI SAIN. Isolation and characterization of nanofibers from agricultural residues-Wheat straw and soy hulls. Bioresource Technology. 2008, 99(6), 1664-1671.

WADA, M., JUNJI SUGIYAMA and TAKESHI OKANO. Native celluloses on the basis of two crystalline phase (1a/iß) system. Journal of Applied

Polymer Science. 1993, 49(8), 1491-1496.

กิตติยา ปลื้มใจ, กรองทิพย์ เติมเกาะ, เอกรัฐ มีชูวาศ และ วิษณุ เพชรภา, การวิเคราะห์สมบัติทางความร้อนและหมู่ ฟังก์ชั่นของเซลลูโลสจากชานอ้อย. วารสารผลงานวิชาการ OsuinemaNÁUŠO75. 2563, 9(9), 31-37.

ซลลูโลสที่ผสมก้บอนุภาคนาโนไบโอแอคทีฟกลาส

Downloads

เผยแพร่แล้ว

26-09-2022

How to Cite

ปาโมกข์ ช., มีชูวาศ เ., & ตะปะสา ก. (2022). การพัฒนาผ้าสมานแผลด้วยอนุภาคนาโนไบโอแอคทีฟกลาส. วารสารวิทยาศาสตร์ประยุกต์ กรมวิทยาศาสตร์บริการ, 10(10), 80–89. https://doi.org/10.60136/bas.v10.2021.157