การพัฒนาเครื่องดื่มที่มีสารต้านอนุมูลอิสระจากข้าวสีเข้มผสมน้ำผลไม้

ผู้แต่ง

  • วรรณดี มหรรณพกุล กรมวิทยาศาสตร์บริการ
  • จันทร์ฉาย ยศศักดิ์ศรี กรมวิทยาศาสตร์บริการ
  • เจนจิรา อยู่พะเนียด กรมวิทยาศาสตร์บริการ
  • ศิริวรรณ จำแนกสาร กรมวิทยาศาสตร์บริการ
  • การ์ตูน เพ็งพรม กรมวิทยาศาสตร์บริการ

DOI:

https://doi.org/10.60136/bas.v10.2021.142

คำสำคัญ:

เครื่องดื่มข้าว, เครื่องดื่มต้านอนุมูลอิสระ, เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ

บทคัดย่อ

การพัฒนาเครื่องดื่มที่มีสารต้านอนุมูลอิสระซากขาวสีเข้มเผสมน้ำผลไม้นี้ให้เลือกใช้ข้าวไรซ์เบอร์รข้าวสังข์หยด บีทรูท และ ฟักข้าวเป็นวัตถุดิบ โดยงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปริมาณน้ำที่เหมาะสมในการสกัดข้าว อัตราส่วนของน้ำข้าวและน้ำ ผลไม้ ปริมาณสารให้ความคงตัวที่เหมาะสม และกระบวนการในการฆ่าเชื้อ พบว่า ปริมาณน้ำที่เหมาะสมในการสกัดข้าว โดยใช้น้ำ 20 เท่าของน้ำหนักข้าว จะได้น้ำข้าวที่มีลักษณะเหมาะสม คือ ไม่ขึ้นหรือหนีตเกินไป อัตราส่วนของน้ำข้าวะน้ำผลไม้ เท่ากับ 75:25 สําหรับน้ำข้าวไรซ์เบอร์รี่ อัตราส่วนของน้ำข้าวไรซ์เบอร์รี่น้ำบีทรูท เท่ากับ 75:25 และน้ำข้าวสังข์หยด อัตราส่วน ของน้ำข้าวสังข์หยด:น้ำบีทรูท เท่ากับ 80:20 ให้ค่าโฮแรศ (CRAC) สูงสุด คือ 176 และ 143 umo, TE/100 ตามลําดับ ปริมาณ สารให้ความคงตัวที่เหมาะสมกับเครื่องดื่มข้าวผสมน้ำผลไม้ คือ เพศดิน (Pectin) ร้อยละ 0.1 ร่วมกับคาร์บอกซีเมทิลเซลลูโลส (CarbCxymethyl Cellulose, CMC) ร้อยละ 0.2 ทําให้เครื่องดื่มเป็นเนื้อเดียวกัน การแยกชั้นสตลง กระบวนการฆ่าเชื้อด้วยหม้อ นึ่งความฝัน ที่ 5 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว (110 องศาเซลเซียส, oC) นาน 25 นาที และเครื่องฆ่าเชื้อชนิดฉีดพ่นไอน้ำร้อน ที่อุณหภูมิ 110 oC นาน 25 นาที ทําให้เครื่องดื่มมีอายุการเก็บรักษาที่อุณหภูมิห้องใต้ไม่น้อยกว่า 6 เดือน สําหรับคุณค่าทางโภชนาการต่อหนึ่ง หน่วยบริโภค (180 มิลลิลิตร) พบว่า เครื่องดื่มชาวไรซ์เบอร์รี่ สูตร R2 ซึ่งประกอบด้วย น้ำซาวะน้ำบีทรูท ในอัตราส่วน 75:25 ให้พลังงานน้อยกว่าเครื่องดื่มข้าวสังข์หยด สูตร S2 ซึ่งประกอบด้วย น้ำซาวะน้ำบีทรูท ในอัตราส่วน 75:25

References

สถาบันอาหาร กระทรวงอุตสาหกรรมเทรนด์สุขภาพยังมาแรงในปี 62 กลุ่มอาหารเพื่อสุขภาพเป็นสินค้าขายดี [ออนไลน์]. 2561. [อ้างถึงวันที่ 25 ตุลาคม 2563]. เข้า ถึงจาก: https://cheechongruay.smartsme.co.th/content/23337

ANDREW WEIL, M.D. ORAC: Scoring Antioxidants? [online]. 2010. [viewed 28 December 2019). Available from: https://www.drweil.com/ vitamins-supplements-herbs/vitamins/ orac-scoring-antioxidants

JORGUSTIN, K. ORAC Value | Top 100 High Antioxidant Foods - Berries - Spices - Herbs. [online]. 2017. [viewed 18 July 2020]. Available from: https://modernsurvivalblog.com/health/high-orac-value-antioxidant-foods-top-100

สุชาดา มานอก และปวีณา ลิ้มเจริญ. การวิเคราะห์ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระโดยวิธี DPPH, ABTS และ FRAP และ ปริมาณสารประกอบฟีนอลิกทั้งหมดของสารสกัด สมุนไพรในตํารับยาหอมเทพจิตร. Advanced Science. 2015, 15(1), 106-117.

บทบรรณาธิการ. วิธีการกําหนดหาการออกฤทธิ์ของตัวต้านออกซิเดชั่นทั้งหมด. Naresuan Phayao Journal 2016, 9(3), 25-30.

FLOEGEL, A., et al. Comparison of ABTS/DPPHassays to measure antioxidant capacity in popular antioxidant-rich US foods. Journal of Food Composition and Analysis. 2011, 24(7), 1043-1048.

R, SOMPONG, et al. Physicochemical and antioxidative properties of red and black rice varieties from Thailand, China and Sri Lanka.Food Chemistry. 2011, 124(1), 132-140.

PEDRO, A.C., D. GRANATO and N.D. ROSSO. Extraction of anthocyanins and polyphenols from black rice (Oryza sativa L.) by modeling and assessing their reversibility and stability. Food Chemistry, 2016, 191, 12-20.

สุรพงษ์ พินิจกลาง และรัชนี ไสยประจง. การผลิตเครื่องดื่มซุปเปอร์เบอรี่ที่มีสารสกัดแอนโธไซยานินจากข้าวหอม üa. Agricultural Science Journal. 2018, 49(2) (Suppl.), 25-28.

ศูนย์ข้อมูลข้าวตลาดเฉพาะ กรมการข้าว, ข้าวไรซ์เบอร์รี่ [ออนไลน์]. [อ้างถึงวันที่ 21 กันยายน 2563]. เข้าถึงจาก: https://www.thairicedb.com/rice-detail.php?id=15.

ศูนย์ข้อมูลข้าวตลาดเฉพาะ กรมการข้าว, ข้าวสังข์หยดเมืองพัทลุง [ออนไลน์]. [อ้างถึงวันที่ 30 พฤศจิกายน 2563]. เข้าถึงจาก: https://www.thairicedb.com/rice-detail.php?id=1

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.). เครื่องดื่มสกัดจากปลายข้าว [ออนไลน์]. 2558. [อ้างถึงวันที่ 26 มกราคม 2564]. เข้าถึงจาก: https:// waa.inter.nstda.or.th/stks/pub/2015/2015091 1-Technology-show%202-2558-Food-Beverage-15.pdf

จุฑามาศ ถิระสาโรช และเฉลิมพล ถนอมวงค์, การผลิตเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพจากข้าวหอมนิล, KKU Science Journal, 2015, 43(3), 395-402

ค่าการวิเคราะห์คุณค่าทางโภชนาการของเครื่องดื่ม

Downloads

เผยแพร่แล้ว

01-08-2021

How to Cite

มหรรณพกุล ว., ยศศักดิ์ศรี จ., อยู่พะเนียด เ., จำแนกสาร ศ., & เพ็งพรม ก. (2021). การพัฒนาเครื่องดื่มที่มีสารต้านอนุมูลอิสระจากข้าวสีเข้มผสมน้ำผลไม้ . วารสารวิทยาศาสตร์ประยุกต์ กรมวิทยาศาสตร์บริการ, 10(10), 1–8. https://doi.org/10.60136/bas.v10.2021.142