การตรวจสอบคุณภาพทางจุลชีววิทยาของผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร

ผู้แต่ง

  • ธนัชชา ผาติพงศ์ กองผลิตภัณฑ์อาหารและวัสดุสัมผัสอาหาร กรมวิทยาศาสตร์บริการ
  • นริศรา ทัศวงศ์ กองผลิตภัณฑ์อาหารและวัสดุสัมผัสอาหาร กรมวิทยาศาสตร์บริการ
  • จารุณี เมฆสุวรรณ์ กองผลิตภัณฑ์อาหารและวัสดุสัมผัสอาหาร กรมวิทยาศาสตร์บริการ
  • ธีระ ปานทิพย์อำพร กองผลิตภัณฑ์อาหารและวัสดุสัมผัสอาหาร กรมวิทยาศาสตร์บริการ
  • นพมาศ สะพู กองผลิตภัณฑ์อาหารและวัสดุสัมผัสอาหาร กรมวิทยาศาสตร์บริการ

DOI:

https://doi.org/10.60136/bas.v12.2023.608

คำสำคัญ:

คุณภาพทางจุลชีววิทยา, ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร, การปนเปื้อน

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพทางจุลชีววิทยาของผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่มีจำหน่ายโดยทั่วไป โดยมุ่งตรวจสอบการปนเปื้อนของจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค 3 ชนิด คือ Salmonella spp. Staphylococcus aureus และ Clostridium spp. และจุลินทรีย์ที่เป็นดัชนีบ่งบอกถึงสุขอนามัยของกระบวนการผลิต คือ Escherichia coli จากการตรวจสอบพบว่าผลิตภัณฑ์เสริมอาหารทั้งหมด 33 ตัวอย่าง ไม่มีการปนเปื้อนของ Salmonella spp. S. aureus และ E. coli อย่างไรก็ตาม พบการปนเปื้อนของ Clostridium spp. ในผลิตภัณฑ์เสริมอาหารจำนวน 5 ตัวอย่าง การปนเปื้อนดังกล่าวแสดงให้เห็นว่ามีการจำหน่ายผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่ไม่ได้คุณภาพตามมาตรฐานทางจุลชีววิทยาที่กำหนดโดยกระทรวงสาธารณสุขและสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ซึ่งผลิตภัณฑ์เหล่านี้อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของผู้บริโภคได้

References

กระทรวงสาธารณสุข. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 293) พ.ศ. 2548 เรื่อง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร. ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 122 ตอนพิเศษ 150 ง, 28 ธันวาคม 2548. 2-5.

Dlugaszewska J, Ratajczak M, Kaminska D, Gajecka M. Are dietary supplements containing plant-derived ingredients safe microbiologically?. Saudi Pharm J. 2019;27(2):240-5.

Ratajczak M, Kaminska D, Swiatly-Blaszkiewicz A, Matysiak J. Quality of dietary supplements containing plant-derived ingredients reconsidered by microbiological approach. Int J Environ Res Public Health. 2020;17(18):6837.

สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา เรื่อง หลักฐานและเอกสารประกอบการยื่นขออนุญาตใช้ฉลากของผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และคุณภาพหรือมาตรฐานด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค. ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 123 ตอนพิเศษ 12 ง, 26 มกราคม 2549. 14-17.

นฤมล ฉ่ำปุ๊ก, ดาริวรรณ เศรษฐีธรรม. การปนเปื้อนจุลินทรีย์และมาตรฐานของผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่บริโภคในครัวเรือน กรณีศึกษาเทศบาลตำบลท่าพระ อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น. วารสารวิจัย มข. 2557;14:81-91.

International Organization for Standardization (ISO). Microbiology of the food chain – Horizontal method for the detection, enumeration and serotyping of Salmonella – Part 1: Detection of Salmonella spp.. ISO 6579-1:2017(E). Geneva, Switzerland: ISO; 2017.

U.S. Food and Drug Administration (FDA). Bacteriological analytical manual Chapter 12: Staphylococcus aureus [Internet]. 2016 [cited 2022 May 15]. Available from: https://www.fda.gov/food/laboratory-methods-food/bam-chapter-12-staphylococcus-aureus

U.S. Food and Drug Administration (FDA). Bacteriological analytical manual Chapter 4: enumeration of Escherichia coli and the coliform bacteria [Internet]. 2020 [cited 2022 May 15]. Available from: https://www.fda.gov/food/laboratory-methods-food/bam-chapter-4-enumeration-escherichia-coli-and-coliform-bacteria

United States Pharmacopeia (USP). <2022> Microbiological procedures for absence of specified microorganisms-nutritional and dietary supplements. USP 42/NF 37 Vol. 5. Rockville, Maryland: United States Pharmacopeia; 2019. p. 9057-749.

Sabater-Molina M, Larqué E, Torrella F, Zamora S. Dietary fructooligosaccharides and potential benefits on health. J Physiol Biochem. 2009;65(3):315-28.

Franco EAN, Sanches-Silva A, Ribeiro-Santos R, de Melo NR. Psyllium (Plantago ovata Forsk): from evidence of health benefits to its food application. Trends Food Sci Technol. 2020;96(1):166-75.

León-López A, Morales-Peñaloza A, Martínez-Juárez VM, Vargas-Torres A, Zeugolis DI, Aguirre-Álvarez G. Hydrolyzed collagen—Sources and applications. Molecules. 2019;24(22):4031.

Magnuson BA, Roberts A, Nestmann ER. Critical review of the current literature on the safety of sucralose. Food Chem Toxicol. 2017;106(Pt A):324-55.

Dürre P. Physiology and sporulation in Clostridium. Microbiol Spectr. 2014;2(4):1-14.

Shen A, Edwards AN, Sarker MR, Paredes-Sabja D. Sporulation and germination in clostridial pathogens. Microbiol Spectr. 2019;7(6):1-47.

Tapia MS, Alzamora SM, Chirife, J. Effects of water activity (aw) on microbial stability: as a hurdle in food preservation. In: Barbosa-Cánovas GV, Fontana AJ, Schmidt SJ, Labuza TP, editors. Water activity in foods. Iowa: Blackwell Publishing; 2007. p. 323-55.

ตารางที่ 1 ส่วนประกอบหลักและวัตถุเจือปนอาหารบนฉลากของตัวอย่างผลิตภัณฑ์เสริมอาหารในงานวิจัย

Downloads

เผยแพร่แล้ว

24-11-2023

How to Cite

ผาติพงศ์ ธ., ทัศวงศ์ น., เมฆสุวรรณ์ จ., ปานทิพย์อำพร ธ., & สะพู น. (2023). การตรวจสอบคุณภาพทางจุลชีววิทยาของผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร. วารสารวิทยาศาสตร์ประยุกต์ กรมวิทยาศาสตร์บริการ, 12(2), 66–81. https://doi.org/10.60136/bas.v12.2023.608