การพัฒนาสูตรแก้วสําหรับเตาหลอมชนิดไม่ต่อเนื่อง

ผู้แต่ง

  • เอกรัฐ มีชูวาศ กรมวิทยาศาสตร์บริการ
  • กนิษฐ์ ตะปะสา กรมวิทยาศาสตร์บริการ
  • ปริดา จําปีเรือง กรมวิทยาศาสตร์บริการ
  • เทพีวรรณ จิตรวัชรโกมล กรมวิทยาศาสตร์บริการ

DOI:

https://doi.org/10.60136/bas.v4.2015.290

คำสำคัญ:

แก้วโซดาไลม์, เตาหลอมแก้วชนิดไม่ต่อเนื่อง, วัตถุดิบแก้ว

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้ได้พัฒนาสูตรแก้วสําหรับเตาหลอมชนิดไม่ต่อเนื่อง (pot furnace) จากการศึกษาองค์ประกอบทางเคมีและสมบัติของแก้วต้นแบบที่มีจําหน่ายในต่างประเทศเพื่อนํามาเป็นต้นแบบ ซึ่งแก้วต้นแบบดังกล่าวเป็นแก้วโซดาไลม์ที่มีปริมาณซิลิกา (SiO2) ต่ำ ทําให้สามารถหลอมได้ง่าย ทําให้ได้สูตรแก้วที่สามารถหลอมตัวได้ที่อุณหภูมิต่ำ (< 1,400 °C) โดยใช้วัตถุดิบหลักภายในประเทศ สามารถนําไปหลอมในเตาหลอมแก้วชนิดไม่ต่อเนื่องได้อย่างสมบูรณ์ แก้วที่เตรียมได้มีองค์ประกอบทางเคมีโดยน้ำหนักของซิลิกา ร้อยละ 68 แอลคาไลน์ (Na2O, K2O) ร้อยละ 19 แอลคาไลน์เอิร์ท (CaO, MgO) ร้อยละ 9 แบเรียมออกไซด์ (BaO) ร้อยละ 2 และซิงค์ออกไซด์ (ZnO) ร้อยละ 2 มีสมบัติใกล้เคียงกับแก้วต้นแบบ มีความหนืดและการขยายตัวเนื่องจากความร้อนที่เหมาะสมสําหรับการขึ้นรูปด้วยการเป่าแก้ว (blowing) ซึ่งสามารถนําไปประยุกต์ใช้ในกระบวนการผลิตแก้วในระดับอุตสาหกรรม

References

พรายพล คุ้มทรัพย์, สถานการณ์พลังงานโลก: วิกฤตการณ์น้ำมันครั้งที่ 3. การสัมมนาประจําปี เรื่องสถานการณ์พลังงานโลกและการปรับตัวของไทย คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2551, หน้า 1-32.

กรมพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน, 2551. เอกสารเผยแพร่โครงการศึกษาเกณฑ์การใช้พลังงานในอุตสาหกรรมอโลหะ [ออนไลน์]. อ้างถึงวันที่ 1 มีนาคม 2558]. เข้าถึงจาก: http://www2.dede.go.th/km berc/downloads/menu4/เอกสารเผยแพร่/คู่มือ/ 08%20 sec/09%20อุตสาหกรรมอโลหะ/อโลหะ .pdf

TOOLEY, F. V. The handbook of glass manufacture. 3rd ed. New York: Ashlee Publishing, 1984.

SHELBY, J. E. Introduction to glass science and technology. 2nd ed. Cambridge : The Royal Society of Chemistry, 2005.

MEECHOOWAS, E., et al. Improve melting efficency by Batch-to melt conversion. Procedia Engineering, 2012, 32, 956-961.

MEECHOOWAS, E., et al. Modified glass batch can have increased alumina content by using feldspar to improve glass properties. Suranaree J. Sci Technol., 2013, 20(4), 309-315.

MEECHOOWAS, E., K. TAPASA, and T. JITWATCHARAKOMOL. Alternative soda-lime glass batch to reduce energy consumption. Key. Eng. Mater., 2013, 545, 24-30.

MEECHOOWAS, E., et al. Low melting glass billets for pot furnace glass processing. Key. Eng. Mater., 2014, 608, 295-300.

CONRADT, R. The industrial glass-melting process. The SGTE casebook: Thermodynamics at work. 2nd ed. Cambridge : Woodhead Publishing, 2008, pp. 282-303.

TAPASA, K. and T. JITWATCHARAKOMOL. Thermodynamic calculation of exploited heat used in glass melting furnace. Procedia Engineering, 2012, 32, 969-975.

BRAY, C. Dictionary of Glass: Materials and Techniques. 2nd ed. Pennsylvania : University of Pennsylvania Press, 2001.

FLUEGEL, A. Glass viscosity calculation based on a global statistical modeling approach. Europ. J. Glass Sci. Technol. A, 2007, 48, 13-30.

VOGEL, W. Chemistry of glass. Westerville, Ohio : The American Ceramic Society, 1985.

แก้วที่หลอมที่อุณหภูมิ 1350°C เป็นเวลา 1 ชั่วโมง

Downloads

เผยแพร่แล้ว

01-08-2015

How to Cite

มีชูวาศ เ., ตะปะสา ก., จําปีเรือง ป., & จิตรวัชรโกมล เ. (2015). การพัฒนาสูตรแก้วสําหรับเตาหลอมชนิดไม่ต่อเนื่อง. วารสารวิทยาศาสตร์ประยุกต์ กรมวิทยาศาสตร์บริการ, 4(4), 29–35. https://doi.org/10.60136/bas.v4.2015.290