การเปรียบเทียบเทคนิคการกําหนดค่าอ้างอิงของเมลามีนในสารละลายตัวแทนอาหารโดยวิธีการวิเคราะห์ด้วยน้ำหนักและวิธีไฮเพอร์ฟอร์แมนลิควิด โครมาโทรกราฟี

ผู้แต่ง

  • จุฑาทิพย์ ลาภวิบูลย์สุข กรมวิทยาศาสตร์บริการ
  • พจมาน ท่าจีน กรมวิทยาศาสตร์บริการ
  • สมภพ ลาภวิบูลย์สุข กรมวิทยาศาสตร์บริการ

DOI:

https://doi.org/10.60136/bas.v6.2017.271

คำสำคัญ:

เมลามีน, สารละลายตัวแทนอาหาร, ไฮเพอร์ฟอร์แมนลิควิดโครมาโทรกราฟี, การวิเคราะห์ด้วยน้ำหนัก

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้ศึกษาวิธีการกําหนดค่าอ้างอิงของเมลามีนในสารละลายตัวแทนอาหาร (กรดอะซิติก ร้อยละ 3) สำหรับกิจกรรมทดสอบความชํานาญ โดยเปรียบเทียบระหว่างวิธีการวิเคราะห์ด้วยน้ำหนัก (Gravimetric method) และวิธีไฮเพอร์ฟอร์แมนลิควิดโครมาโทรกราฟี (HPLC) ดำเนินการตามวิธีมาตรฐาน DD CEN/ TS 13130-27: 2005 ซึ่งตัวอย่างที่ใช้ในการกําหนดค่าอ้างอิง ได้ทำการตรวจสอบความเป็นเนื้อเดียวกันและมีความเสถียร พบว่า ตัวอย่างเป็นไปตามเกณฑ์ที่ มาตรฐานกำหนด (ISO 13528: 2005) การกําหนดค่าอ้างอิงของเมลามีนด้วยเทคนิคไฮเพอร์ฟอร์แมนลิควิด โครมาโทรกราฟี และวิธีการวิเคราะห์ด้วยน้ำหนัก พบ ว่าตัวอย่างมีปริมาณเมลามีน 5.04 และ 5.00 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม โดยมีค่าความไม่แน่นอนขยายที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 เท่ากับ 0.30 และ 0.06 มิลลิกรัม ต่อกิโลกรัม ตามลำดับ การเปรียบเทียบเทคนิคการกําหนดค่าอ้างอิงใช้ค่า En พบว่าทั้ง 2 วิธีให้ค่าปริมาณเมลามีนไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญ

References

FOOD AND AGRICULTURE ORGANIZATION AND WORLD HEALTH

ORGANIZATION. Toxicological and Health Aspects of Melamine

and Cyanuric Acid. Geneva: FAO/WHO, 2009, pp.1-74.

FOOD AND AGRICULTURE ORGANIZATION AND WORLD HEALTH

ORGANIZATION. Codex Alimentarius Commission. Agenda Item

, CX/CF 10/4/5: FAO/WHO, March 2010, pp.1-25.

LAM, C-W., L. LAN, , X. CHE, S. TAM, S. S-Y. WONG, Y. CHEN, J.

JIN, S-H. TAO, X-M. TANG, KY. YUEN, and, P K-H. TAM. Diagnosis and spectrum of melamine-related renal disease: Plausible mechanism of stone formation in humans. Clinica Chimica Acta, 2009, 402, 150-155.

TOLLESON, WH., G.W. DIACHENKO, and D. HELLER. Background

paper on the chemistry of melamine alone and in combination with related compounds. Prepared for the WHO Meeting on Toxicological and Health Aspects of Melamine and Cyanuric Acid, in collaboration with FAO and supported by Health Canada, 1-4 December 2008

WORLD HEALTH ORGANIZATION. Melamine and Cyanuric acid:

Toxicity, Preliminary Risk Assessment and Guidance on Levels in Food. 30 October 2008.

DD CEN/TS 13130-27:2005. Materials and articles in contact

with foodstuffs: Plastics substances subject to limitation, Part 27: Determination of 2,4,6-triamino-1,3,5-triazine in food

simulants.

EURACHEM / CITAC Guide CG 4: Quantifying Uncertainty in

Analytical Measurement, 3rd ed. QUAM: 2012 P1

INTERNATIONAL ORGANIZATION FOR STANDARDIZATION. ISO

: 2005, Statistical methods for use in proficiency testing

by interlaboratory comparisons.

INTERNATIONAL ORGANIZATION FOR STANDARDIZATION,

INTERNATIONAL ELECTROTECNICAL. ISO 17043: 2010, Conformity assessment - general requirements for proficiency testing.

กราฟมาตรฐานสารเมลามีน

Downloads

เผยแพร่แล้ว

07-10-2022

How to Cite

ลาภวิบูลย์สุข จ., ท่าจีน พ., & ลาภวิบูลย์สุข ส. . (2022). การเปรียบเทียบเทคนิคการกําหนดค่าอ้างอิงของเมลามีนในสารละลายตัวแทนอาหารโดยวิธีการวิเคราะห์ด้วยน้ำหนักและวิธีไฮเพอร์ฟอร์แมนลิควิด โครมาโทรกราฟี. วารสารวิทยาศาสตร์ประยุกต์ กรมวิทยาศาสตร์บริการ, 6(6), 113–117. https://doi.org/10.60136/bas.v6.2017.271