การตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีหาปริมาณปรอทในกรดไฮโดรคลอริก

ผู้แต่ง

  • จิรสา กรงกรด กองเคมีภัณฑ์และอุปภัณฑ์บริโภค กรมวิทยาศาสตร์บริการ
  • อนุชา สินธุสาร กองเคมีภัณฑ์และอุปภัณฑ์บริโภค กรมวิทยาศาสตร์บริการ
  • โศรดา ขุนโหร กองเคมีภัณฑ์และอุปภัณฑ์บริโภค กรมวิทยาศาสตร์บริการ
  • อภิช์ญา สุขมาก กองเคมีภัณฑ์และอุปภัณฑ์บริโภค กรมวิทยาศาสตร์บริการ

DOI:

https://doi.org/10.60136/bas.v8.2019.264

คำสำคัญ:

กรดไฮโดรคลอริก, ปรอท

บทคัดย่อ

การตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีทดสอบปริมาณปรอทในกรดไฮโดรคลอริกตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม มอก. 217-2556 นั้นเป็นวิธีทดสอบกรดไฮโดรคลอริกสำหรับอุตสาหกรรมโดยเทคนิค Flow Injection Mercury Systems (FIMS) พบว่าช่วงความเป็นเส้นตรงเท่ากับ 0.5 - 10 ไมโครกรัมต่อลิตร ขีดจำกัดการตรวจหาเท่ากับ 0.2 ไมโครกรัมต่อลิตร และขีดจำกัดการวัดปริมาณเท่ากับ 0.5 ไมโครกรัมต่อลิตร ค่าความโอนเอียงและความเที่ยงระหว่างกลางมีร้อยละการคืนกลับและร้อยละของค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานสัมพัทธ์อยู่ในช่วง 85 - 110 และ 1.0 - 3.0 ตามลำดับ โดยมีค่าความไม่แน่นอนที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ไม่เกินร้อยละ 20

References

สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. มอก. 217-2556. กรดไฮโดรคลอริกสำหรับอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ : สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม, 2557.

EURACHEM. Eurachem Guide: The Fitness for Purpose of Analytical Method [online]. 2 nd ed. Eurachem, 2014 [viewed 17 February 2019]. Available from: www.eurachem.org

BARWICK, V. J. and S. L. R., ELLISON. VAM Project 3.2.1: Development and Harmonization of Measurement Uncertainty Principles, LGC/VAM/1998/088 January 2000. [viewed 1 March 2001]. Available from: http://blpd.dss.go.th/training/dwdocuments/enews/VAM_uncertainty-0452.pdf.

THE PERKIN ELMER. Flow Injection Mercury, Setting Up and Performing Analyses [online]. 2003. [viewed 11 March 2018]. Available from: http://www.cromatec.ro/pdf/12-BRO_FIMS.pdf

จิรสา กรงกรด และโศรดา ขุนโหร. กรดไฮโดรคลอริก. สาระน่ารู้กรมวิทยาศาสตร์บริการ [ออนไลน์]. กรกฎาคม 2549. [อ้างถึงวันที่ 8 กรกฎาคม 2562]. เข้าถึงจาก: http://www.dss.go.th/images/st-article/cp_8_2549_hydrochloric.pdf

สุดชฎา ศรประสิทธิ์, กิ่งแก้ว กาญจนรัตน์ และอรัญญา อัศวอารีย์. การประเมินความเสี่ยงโลหะหนักในปลาและกุ้งจากทะเลสาบสงขลาต่อคนไทย. วารสารกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์. 59(2) เมษายน - มิถุนายน 2560, หน้า 115-127.

เปรียบเทียบความชันของกราฟมาตรฐานการสอบเทียบของสารละลายมาตรฐานปรอทกับ ความชันของสารละลายตัวอย่างที่เติมสารละลายมาตรฐานปรอท

Downloads

เผยแพร่แล้ว

07-10-2022

How to Cite

กรงกรด จ., สินธุสาร อ., ขุนโหร โ., & สุขมาก อ. (2022). การตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีหาปริมาณปรอทในกรดไฮโดรคลอริก. วารสารวิทยาศาสตร์ประยุกต์ กรมวิทยาศาสตร์บริการ, 8(8), 72–77. https://doi.org/10.60136/bas.v8.2019.264