การกำจัดโครเมียม (VI) โดยใช้ไคโตซานแบบเชื่อมขวางในคอลัมน์เบดนิ่ง
คำสำคัญ:
ไคโตซานแบบเชื่อมขวาง, การดูดซับ, คอลัมน์เบดนิ่ง, โลหะหนักบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้ศึกษาการดูดซับโครเมียมด้วยไคโตซานในคอลัมน์แบบเบดนิ่ง วัสดุดูดซับสังเคราะห์จากการเชื่อมขวางของไคโตซานโดยใช้โซเดียมไตรพอลิฟอสเฟตเป็นสารเชื่อมขวาง วัสดุดูดซับที่สังเคราะห์ได้มีลักษณะเป็นบีดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2.5 mm ท าการทดสอบการดูดซับในคอลัมน์แบบเบดนิ่งโดยศึกษาผลของ อัตราการไหลของสารละลายโครเมียม (150, 250 และ 350 cm3/h) ความสูงเบด (5, 10 และ 15 cm) และความเข้มข้นเริ่มต้นของสารละลายโครเมียม (1, 2 และ 3 ppm) ที่มีผลต่อการดูดซับ ท าการทดลองโดยป้อนสารละลาย โครเมียมเข้าทางด้านล่างของคอลัมน์และเก็บตัวอย่างที่ทางออกด้านบนตามเวลา เพื่อวิเคราะห์หาปริมาณโครเมียม โดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์สี ด้วยเครื่องยูวี-วิซิเบิล สเปกโทรโฟโตมิเตอร์ ที่ความยาวคลื่น 540 nm จากการทดลอง พบว่าเวลาเบรคทรูเพิ่มขึ้นเมื่ออัตราการไหลและความเข้มข้นเริ่มต้นของสารละลายโครเมียมมีค่าลดลง ในขณะที่การ เพิ่มความสูงของเบดส่งผลให้เวลาเบรคทรูเพิ่มขึ้น และจากการศึกษาแบบจำลองการดูดซับ โดยเปรียบเทียบระหว่าง แบบจำลองของโทมัส อดัม-โบฮาร์ท และ ยุน-เนลสัน พบว่าข้อมูลที่ได้จากผลการทดลองสอดคล้องกับแบบจำลอง ของโทมัสเป็นอย่างดี
References
Jutarat_DPM. (2012). ภัยร้ายจากโลหะหนักไม่รู้ไม่ได้แล้ว. สืบค้น 1 ตุลาคม 2563, จาก http://dpm.nida.ac.th
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กำหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้งจากโรงงาน. (2560, 7 มิถุนายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 134
Fenglian Fu & Qi Wang. (2011). Removal of heavy metal ions from wastewaters: A review. Journal of Environmental Management, 92 (3), 407-418. doi:10.1016/j.jenvman.2010.11.011
Jaime, L., Dalia, I.S., Reyna, G.S. & Ma, A.C. (2018). Study of a fixed-bed column in the adsorption of an azo dye from an aqueous medium using a chitosan – glutaraldehyde biosorbent. Adsorption Science&Technoloty, 36 (1-2), 215-232. doi:10.1177/0263617416688021
Jayakumar, R., Prabaharan, M., Reis, R.L. & Mano, J.F. (2005). Graft copolymerized chitosanpresent status and applications. Carbohydrate Polymer, 62 (2), 142-158. doi:10.1016/j.carbpol.2005.07.017
Devika, R.B. & Varsha, B.P. (2006). Studies on Effect of pH on cross-linking of chitosan with sodium tripolyphosphate: A technical note. AAPS PharmSciTech, 7 (2), doi:10.1208/pt070250
Kadirvelu,K., Senthikumar, P., Thamaraiselvi, K. & Subburam, V. (2002). Activated carbon prepared from biomass as adsorbent: elimination of Ni(II) from aqueous solution. Bioresource Technology, 81 (1), 87-90. doi:10.1016/s0960-8524(01)00093-1
Ahmaruzzaman, M. & Vinod, F.G. (2011). Rice husk and its ash as low-cost adsorbents in water and wastewater treatment. Industrial & Engineering Chemistry research, 50, 13589-13613. doi:10.1021/ie201477c
Suhong, C, Qinyan, Y, Baoyu, G., Qian, L., Xing, X. & Kiafang, F. (2012). Adsorption of hexavalent chromium from aqueous solution by modified corn stalk: A fixed- bed column study.Bioresource Tecnhology,113, 114-120. doi:10.1016/j.biortech2011.11.110
Ahmad, A.L., Sumathi, S. & Hameed, B.H. (2005). Adsorption of Residue oi from palm oil mill effluent using powder and flake chitosan:Equilibrium and kinetic studies. Water Research, 39, 2483-2494. doi:10.1016/j.watres.2005.03.035
Wan Ngah, W.S., Endud, C.S. & Mayanar, R. (2002). Removal of copper(II) ios from aqueous solution onto chitosan and cross-linked chitosan beads. Reactive and Functional Polymers, 50 (2), 181-190. doi:10.1016/S1381-5148(01)00113-4
Sebastian, S., Simone, C.S.R, Ye, X., Qingye, L. & Josephine, M.H. (2019). Phosphoniumenhanced chitosan for Cr(VI) adsorption in wastewater treatment. Carbohydrate Polymers, 211, 249-256. doi:10.1016/j.carbpol.2019.02.003
Renu, B., Madhu, A., Kailash, S., Ragini, G. & Dohare, R.K. (2020). Continuous fixed-bed adsorption of heavy metals using biodegradable adsorbent: Modeling and experimental study. Journal of Environmental Engineering, 146(2). doi:10.1016/(ASCE)EE.1943-7870.0001636
Ghinwa, N. & Bohumil, V. (2006). Behavior of the mass transfer zone in a biosorption column. Environmental Science & Technology, 40, 3996-4003. doi:10.1021/es051542p
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.