การศึกษาผลการใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตในทุกสรรพสิ่งร่วมกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำหรับตลาดน้ำ4.0 ชุมชนน้ำบางน้ำผึ้ง

ผู้แต่ง

  • มณีรัตน์ ภารนันท์ คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก
  • จีรภา เพชรวัฒนานนท์ คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก

คำสำคัญ:

อินเทอร์เน็ตในทุกสิ่ง, แชทบอท, ระบบตรวจจับใบหน้า, เอ็มคอมเมิร์ซ, ธุรกิจอัจฉิยะ

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและศึกษาผลการประยุกต์ใช้ระบบต้นแบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารร่วมกับอินเทอร์เน็ตในทุกสิ่ง(IoT) ส้าหรับตลาดนัด 4.0 กรณีศึกษา ชุมชนตลาดน้้าบางน้้าผึ้ง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย (1) อุปกรณ์ IoTโปรแกรม Arduino แอพพลิเคชัน Blynk ส้าหรับควบคุมอุปกรณ์ IoT(2) สร้างแอพพลิเคชันพิกัดร้านค้า ด้วย Appsheet (3) ใช้ Google Sheets เป็นฐานข้อมูล และสร้าง BI Dashboard ด้วย Google Charts API แสดงผลบนเว็บไซต์แหล่งรวมร้านค้าตลาดน้้าบางน้้าผึ้งที่สร้างด้วย Google Sites Facebook Fanpage Shopee (4) ใช้แอพพลิเคชัน Line สร้างระบบขายสินค้าออนไลน์ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ได้แก่ ผู้ประกอบการในชุมชนตลาดน้้าบางน้้าผึ้ง จ้านวน 200 ร้านค้า เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีอาสาสมัคร ผลการวิจัยพบว่า เทคโนโลยีที่ใช้ประกอบด้วย 6 ระบบย่อย ได้แก่ (1) Appsheet เพิ่มพิกัดร้านค้า ข้อมูลสินค้า ประชาสัมพันธ์ข่าวสารโปรโมชันแบบ Real-time แสดงแผนที่และน้าทางนักท่องเที่ยว ซึ่งลูกค้าสามารถ Check-in ให้คะแนนร้านค้าได้ (2) Line My Shop แอพพลิเคชันสั่งซื้อและจองสินค้าล่วงหน้าและสามารถตอบค้าถามแบบอัตโนมัติได้ (Chat bot) (3) ระบบออกรายงานอัจฉริยะ (BI) และวิเคราะห์ Customers Sentimental (4) ระบบ IoTควบคุมการพ่นละอองน้้าคลายร้อน (5) ระบบกล้อง IoT(6) ระบบกล้องตรวจจับใบหน้า ผลลัพธ์จากการใช้ระบบต้นแบบฯที่พัฒนาขึ้น พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด และมีความพึงพอใจในระบบ IoTควบคุมการพ่นละอองน้้ามากที่สุด ส่วนแอพพลิเคชันแสดงแผนที่และน้าทางนักท่องเที่ยวมีความพึงพอใจรองลงมาแต่มีสถิติการเข้าใช้งานมากที่สุด

References

กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. แผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม, 2559. สืบค้นจากhttps://www.dga.or.th/upload/download/file_9fa5ae40143e13a659403388d226efd8.pdf (สืบค้นเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม2563)

สำนักงาน ก.พ..ทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล, 2560. สืบค้นจาก https://www.ocsc.go.th/DLProject/mean-dlp(สืบค้นเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม2563)

สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2560-2564). กรุงเทพฯ: สำนักงานกิจการโรงพิมพ์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก,2560.

สุรพงษ์ วิริยะ อนันตทรัพย์ สุขประดิษฐ์ และ รษา ทองคงอยู่. การพัฒนาเทคโนโลยีการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเสมือนจริงในจังหวัดนครสวรรค์. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 4 สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฎกำแพงเพชร,2560, หน้า 1253-1260.

วรงค์พร คณาวรงค์. การพัฒนาออนโทโลยีแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม. ปริญญานิพนธ์ วส.ม. (เทคโนโลยีสารสนเทศ).มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี, 2557.

ฐิติพร การสูงเนิน. การจัดการสื่อและองค์ความรู้เพื่อพัฒนาการท่องเที่ยว เส้นทางการท่องเที่ยวสีทองกลุ่มจังหวัดสนุก. วารสารมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2558,7(14), หน้า 1-14.

ศิคริษฐ์ คุณชมภูม วรปภา อารีราษฎร์ และ ธรัช อารีราษฎร์. การศึกษาแนวโน้มการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมแบบมีส่วนร่วมโดยเทคนิค EDFR. วารสารวิชาการการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม, 2560, 4(1), หน้า 16-26.

สถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นสูง สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเทคโนโลยีเซนเซอร์สำหรับประเทศไทย, 2558. สืบค้นจาก http://horizon.sti.or.th/node/54 (สืบค้นเมื่อวันที่ 20ธันวาคม2563)

สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ. เทคโนโลยี internet of things และนโยบาย Thailand 4.0,2560.สืบค้นจากwww.nbtc.go.th/getattachment/Services/quarter2560/ปี-2560/ไตรมาส-3-ปี-2560/เอกสารแนบ.pdf.aspx (สืบค้นเมื่อวันที่ 27 ธันวาคม2563)

ศุภมาสด่านวิทยากุล. บ้านอัจฉริยะในยุค IOT Internet of Things. วารสารเทคโนโลยีวัสดุ, 2560, (84), หน้า 32-34.

ธีระชัย หลำเนียม. การออกแบบและประยุกต์สวนอัจฉริยะบนระบบไอโอที. ปริญญานิพนธ์ วศ.ม.(วิศวกรรมไฟฟ้า). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร,2558.

เจษฎา ขจรฤทธิ์ ปิยนุช ชัยพรแก้ว และหนึ่งฤทัย เอ้งฉ้วน. การประยุกต์ใช้เทโนโลยี Internet of Things ในการควบคุมระบบส่องสว่างสำหรับบ้านอัจฉริยะ. วารสารวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, 2560,7(1), หน้า 1-11.

จันทร์จิราพร ทองประสิทธิ์ และทิพยา จินตโกวิท. พฤติกรรมของผู้สูงอายุในการใช้แอปพลิเคชันไลน์บนสมาร์ตโฟน. วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2563, 30(1), หน้า 118-129.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-30 — Updated on 2022-11-26

Versions

How to Cite

[1]
ภารนันท์ ม. และ เพชรวัฒนานนท์ จ., “การศึกษาผลการใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตในทุกสรรพสิ่งร่วมกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำหรับตลาดน้ำ4.0 ชุมชนน้ำบางน้ำผึ้ง”, JSciTech, ปี 5, น. 24–39, พ.ย. 2022.

ฉบับ

บท

บทความวิจัย