การตรวจจับและกำจัดเสียงหอนในระบบเสียงสาธารณะ
คำสำคัญ:
ระบบเสียงสาธารณะ, เสียงหอน, ตัวกำจัดเสียงหอน, ตัวกรองนอตช์, ตัวกรองปรับตัวได้บทคัดย่อ
บทความนี้นำเสนอการตรวจจับและกำจัดเสียงหอนในระบบเสียงสาธารณะ ระบบที่นำเสนอมีส่วนประกอบหลักสองส่วนคือตัวตรวจจับและตัวกำจัดสัญญาณเสียงหอน เนื่องจากเสียงหอนเป็นสัญญาณแบบสุ่มที่ไม่ทราบค่าแอมปลิจูด ความถี่ และเฟส ที่แน่นอน ดังนั้นจึงได้นำตัวกรองนอตช์ปรับตัวได้มาใช้แก้ปัญหาเสียงหอน ในการตรวจจับการมีของเสียงหอนในระบบนั้นเราจะตรวจสอบจากค่าสัมประสิทธิ์ของตัวกรองนอตช์ ส่วนสัญญาณที่ผ่านการกำจัดเสียงหอนแล้วจะวัดจากเอาต์พุตของตัวกรองนอตช์ ผลการทำงานด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์พบว่า ตัวตรวจจับเสียงหอนสามารถทำงานได้ดีในช่วงความถี่ 500 Hz – 4000 Hz ที่ความถี่สุ่ม 8000 Hz และที่อัตราความแรงของเสียงหอนร้อยละ 100 ของระดับสูงสุดของสัญญาณเสียงพูด
References
Gan, H., Luo, G., Luo, Y., Luo, W. (2022). Howling Noise Cancellation in Time–Frequency Domain by Deep Neural Networks. In: Yang, XS., Sherratt, S., Dey, N., Joshi, A. (eds) Proceedings of Sixth International Congress on Information and Communication Technology.Lecture Notes in Networks and Systems, 236. https://doi.org/10.1007/978-981-16-2380-6_28
H. Nyquist. (1932). Regeneration theory. Bell System Technical Journal, 11(1), 126-147.
Li, Yanping, Xiangdong Huang, Yi Zheng, Zhongke Gao, Lei Kou, and Junhe Wan. (2021). Howling Detection and Suppression Based on Segmented Notch Filtering. Sensors Journal, 21(23). https://doi.org/10.3390/ s21238062
N. I. Cho, S. U. Lee. (1993). On the adaptive lattice notch filter for the detection of sinusoids. IEEE Transactions on Circuits and Systems II: Analog and Digital Signal Processing, 40(7), 405-416. https://ieeexplore.ieee.org/document/238368
P. Gil-Cacho, T. V. Waterschoot, M. Moonen, S. H. Jensen. (2009). Regularized adaptive notch filters for acoustic howling suppression. 17th European Signal Processing Conference (EUSIPCO 2009). Glasgow, Scotland.
Spriet, A., Doclo, S., Moonen, M., Wouters, J. (2008). Feedback Control in Hearing Aids. Springer Handbook of Speech Processing. Springer Handbooks. Springer, Berlin, Heidelberg. https://doi.org/10.1007/978-3-540-49127-9_48
T. van Waterschoot, M. Moonen. (2008).50 years of acoustic feedback control: state-of-the-art and future challenges. AT-SISTA Technical Report (8-13). Katholieke Universiteit Leuven, Belgium.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
ข้อความที่ปรากฎในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่าน ไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม และคณาจารย์ท่านอื่นในมหาวิทยาลัยแต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตัวเองแต่เพียงผู้เดียว