สัมประสิทธิ์การลดทอนและระยะทางอิสระเฉลี่ยรังสีแกมมาพลังงาน 60, 290, 404, 566 and 662 keV ของผลึกซินทิลเลชัน PbWO4 และ CdWO4

ผู้แต่ง

  • กฤติยา ศรีบุญเพ็ง สาขาวิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
  • วีระพงศ์ จิ๋วประดิษฐ์กุล ภาควิชาฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
  • นิมิตร กิมประพันธ์ สาขาวิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
  • ภาณุวัฒน์ ซิมะลาวงค์ สาขาวิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
  • กรวีร์ ว่องวิกย์การ สาขาวิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

คำสำคัญ:

การกระเจิงแบบคอมป์ตัน, สัมประสิทธิ์การลดทอนเชิงมวล, CdWO4, PbWO4

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้ได้ทำการวัดค่าสัมประสิทธิ์การลดทอนและระยะทางอิสระเฉลี่ยรังสีแกมมาพลังงาน 60, 290, 404, 566 and 662 keV ของผลึกซินทิลเลชัน PbWO4 และ CdWO4 โดยวิธีการทะลุผ่านของรังสีแกมมา รังสีแกมมา 60 and 662 keV ได้มาจากแหล่งกำเนิด 241Am และ 137Cs ตามลำดับ ส่วนรังสีแกมมา 290, 404 และ 566 keV ได้มาจากการกระเจิงคอมป์ตันของรังสีแกมมาพลังงาน 662 keV (แหล่งกำเนิด137Cs) ที่มุมการกระเจิง 90°, 60° และ 30° ค่าสัมประสิทธิ์การลดทอนและระยะทางอิสระเฉลี่ยรังสีแกมมาที่วัดได้จากการทดลองถูกนำไปเปรียบเทียบกับค่าที่คำนวณจากโปรแกรม WinXComสำหรับผลึกที่ศึกษา ในช่วงพลังงาน 1 – 1000 keV

References

Nikl, M. (2006). Scintillation detectors for x-rays. Measurement Science and Technology, 17(4), R37-R54.

van Eijk and C.W. (2002). Inorganic scintillators in medical imaging. Physics in Medicine & Biology, 47(8), R85-106.

Chen, S., Bonurham, M., Rabiei A. (2014). Novel light-weight materials for shielding gamma ray. Radiation Physics and Chemistry, 96, 27-36.

Lecoq, P., Dafinei, I., Auffray, E., Schneegans, M., Korzhik, M.V. Missevitch, O.V, Pavlenko, V.B., Fedorov, A.A., Annenkov, A.N., Kostylev, V.L., Ligun, V.D. (1995). Lead tungstate (PbWO4) scintillators for LHC EM calorimetry. Nuclear Instruments and Methods in Physics Research A, 365, 291-298.

Liu, X., Hu, G., Feng, X.M., Huang, Y., Zhang Y. (2002). Influence of PbF2 Doping on Scintillation Properties of PbWO4 Single Crystals. Physics status Solidi (a), 190, R1-R3.

Lecoq, P. (2016). Development of new scintillators for medical applications. Nuclear Instruments and Methods in Physics Research A, 809, 130-139.

Holl, I., Lorenz, E., Mageras, G. (1988). A Measurement of the Light Yield of Common Inorganic Scintillators. IEEE Transactions on Nuclear Science, 35, 105-109.

Melcher, C.L. (2005). Perspective in the future development of new scintillators. Nuclear Instruments and Methods in Physics Research A, 537, 6-14.

Biswas, R., Sahadath, H., Mollah, A.S., Huq, F. (2016). Calculation of gamma-ray attenuation parameters for locally developed shielding material: Polyboron. Journal of Radiation Research and Applied Sciences, 9, 26-34.

Gerward, L., Guilbert, N., Jensen, K.B., Levring, H., (2004). WinXCom—a program for calculating X-ray attenuation coefficients. Radiation Physics and Chemistry, 71, 653–654.

เผยแพร่แล้ว

2023-12-08