การคัดเลือกแบคทีเรียแลกติกที่มีศักยภาพในการเป็นโพรไบโอติกจากกิมจิ

Main Article Content

ปุญญิศา วัฒนะชัย
ธันยพร มงคล

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อคัดเลือกแบคทีเรียแลคติกจากกิมจิสไตล์โฮมเมด ที่จำหน่ายบริเวณตลาดนัดรอบมหาวิทยาลัยบูรพา และทดสอบคุณสมบัติการเป็นโพรไบโอติกเบื้องต้น พบว่าสามารถแยกแบคทีเรียแลคติกได้ทั้งหมด 10 ไอโซเลท มีแบคทีเรียแลคติก 1 ไอโซเลท ได้แก่  CN331 แสดงคุณสมบัติในการเป็นโพรไบโอติกที่ดี คือ สามารถรอดชีวิตได้ในสภาวะความเป็นกรด-ด่าง (pH) ที่ 3, 4 และ 5 โดยมีจำนวนเซลล์ที่รอดชีวิตอยู่ระหว่าง  7-8 log cfu/มิลลิลิตร ส่วนในเกลือน้ำดีร้อยละ 0.3, 0.6 และ 1 น้ำหนักต่อปริมาตร โดยมีปริมาณเซลล์ 8 log cfu ต่อมิลลิลิตร และมีประสิทธิภาพในการยับยั้งแบคทีเรียก่อโรค  3 สายพันธุ์ ได้แก่ Escherichia coli ATCC 25922, Salmonella Typhimurium ATCC 13311 และ Staphylococcus aureus ATCC 25923 ซึ่งผลจากการศึกษาแสดงให้เห็นว่าไอโซเลท CN331 มีศักยภาพที่จะพัฒนาเพื่อใช้เป็นหัวเชื้อบริสุทธิ์เพื่อการค้าต่อไป


 

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

จินตนา ต๊ะย่วน และชื่นจิต จันทจรูญพงษ์. (2559). การประเมินศักยภาพการเป็นโพรไบโอติกของแบคทีเรียกรดแล็กติกที่คัดแยกจากผลิตภัณฑ์ผักดอง. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร, 47(2) : 97-100.

ญาณิกา วัชรเทวินทร์กุล และจีรนันท์ สวนชูโต. (2564). การคัดแยกแบคทีเรียกรดแลคติกผลิตแบคเทอริโอซินที่สามารถยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียสาเหตุโรคเต้านมอักเสบในโคนม. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย, 13(2) : 294.

ณัฐวุฒิ มีศิลป์ ปัฐวีกานต์ ไวยเนตร และกฤษณะพงษ์ กุลกานนท์. (2563). ผลของน้ำย่อยเทียมต่อการรอดชีวิตของแบคทีเรียกรดแลคติกสายพันธุ์ Streptococcus thermophilus ในเม็ดเจลชีวภาพ. วารสารวิจัยราชมงคลกรุงเทพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ, 14(1) : 160-162.

ประกานต์ ฤดีกุลธำรง และจารุณี ควรพิบูลย์. (2555). พรีไบโอติกอาหารส่งเสริมสุขภาพ. ธรรมศาสตร์เวชสาร, 12(2) : 362-367.

ประสงค์สม ปุณยอุปพัทธ์ และสุกฤตา ปุณยอุปพัทธ์. (2560). กระบวนการและจุลินทรีย์ที่เกี่ยวข้องในการผลิตอาหารหมัก. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พระราชบัญญัติอาหาร. (2522). พระราชบัญญัติอาหาร พร้อมกฎกระทรวงและประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับปรับปรุง). 25 กรกฏาคม 2566, เข้าถึงได้จาก https://mnfda.fda.moph.go.th/food/wp-content/uploads/2021/08/อ1.law_food.pdf.

วิภาดา มุนินทร์นพมาศ. (2561). การถนอมและแปรรูปอาหารด้วยการหมักดอง. ใน รุ้งลาวัณย์ จันทรัตนา (บรรณาธิการ). หลักการแปรรูปและถนอมอาหาร (หน้า 140-142). กรุงเทพฯ : สหมิตรพัฒนาการพิมพ์ (1992).

สำนักกรรมการอาหารและยา. (2563). ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร. 25 กรกฏาคม 2566, เข้าถึงได้จาก : http://www.ratchakitcha.sac.go.th/DATA/PAGE/2554/E/086/21.PDF.

สุภัสสร วันสุทะ และลัดดาวัลย์ ยืนยาว. (2561). คุณสมบัติการต้านอนุมูลอิสระของจุลินทรีย์โพรไบโอติก. วารสารหมอยาไทยวิจัย, 4(1) : 3-5.

ลักษณารีย์ ภัทรทวีสิน. (2562). กิมจิ : คุณค่าทางวัฒนธรรมและมูลค่าทางเศรษฐกิจทศวรรษที่ 1960-ปัจจุบัน. บทความวิจัย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.

หยาดรุ้ง สุวรรณรัตน์ ปุญญิศา วัฒนะชัย และสราวุธ แสงสว่างโชติ. (2565). การคัดแยกแบคทีเรียแลคติกจากอาหารหมักพื้นบ้านเพื่อใช้เป็นโพรไบโอติกในอาหารสัตว์น้ำที่ผสมใยอาหารจากเปลือกทุเรียน. วารสารคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 7(2) : 60-63.

Cheigh, H.S. and Park, K.Y. (1994). Biochemical, microbiological, and nutritional aspects of kimchi (Korean fermented vegetable products). Critical Reviews in Food Science and Nutrition, 34(2) : 175-203.

Jeong, C.H., Sohn H., Hwang H., Lee, H.J., Kim T.W., and Kim, D.S. (2021). Comparison of the probiotic potential between Lactiplantibacillus plantarum isolated from kimchi and standard probiotic strains isolated from different source. Foods, 10(9). https://doi:10.3390/food10092125.

Jung, S.H., Park. J.W., Cho. I.J., Lee, N.K., Yeo, I.-C. and Kim, B.Y. (2012). Characterization of lactic acid bacteria isolated from sauce-type of kimchi. Prevention Nutrition and Food Science, 17(3) : 217-222.

Korpela, K., Salonen, A., Vepsäläinen, O., Suomalainen, M., Kolmeder, C., Varjosalo, M., and De Vos, W.M. (2018). Probiotic supplementation restores normal microbiota composition and function in antibiotic-treated and in caesarean-born infants. Microbiome, 6(1) : 182.

Lee, J., Kim, S. and Kang, C.H. (2023). Screening and probiotic properties of lactic acid bacteria with potential immunostimulatory activity isolated from kimchi. Fermentation, 9(1) : 4-13.

Lee, S.H., Jung, J.Y., and Jeon, C.O. (2015). Source tracking and succession of kimchi lactic acid bacteria during fermentation. Journal of Food Science, 80(8) : 1871-1877.

Makras, L. and Vuys, L.D. (2006). The in vitro inhibition of gram-negative pathogenic bacteria by bifidobacteria is caused by the production of organic acids. International Dairy Journal, 16(9) : 1049-1057.

Nardone, G., and Compare, D. (2015). The human gastricmicrobiota: is it time to rethink the pathogenesis of stomach diseases. United European Gastroenterology Journal, 3(1) : 255-260.

Pheng, S., Han, H.L., Park, D.S., Chung, C.H and Kim, S.G. (2020). Lactococcus kimchi sp. NOV., a new lactic acid bacterium isolated from kimchi. International Journal of Systematic and Evolutionary Microbiology, 70 : 505-510.

Reuben, R.C., Roy, P.C., Sarkar, S.L., Rubayet, A.S. and Jahid, I.K. (2020). Characterization and evaluation of lactic acid bacteria from indigenous raw milk for potential probiotic properties. Journal of Dairy Science, 103(2) : 1224.

Ren, Z., Peng, L., Chen, S., Pu, Y., Lv, H., Wei, H. and Wan, C. (2022). Lactiplantibacillus plantarum 1201 inhibits intestinal infection of Salmonella enterica subsp. enterica Serova Typhimurium strain ATCC 1331 in mice with high-fat diet. Foods, 11 : 1-14.

Sirisha, A., Lakshmi, J., Lakshmi, K. and Vijaya Gopal, A. (2021). Isolation and Biochemical Characterization of Lactic Acid Bacteria from Fermentation Foods. International Journal of Current Microbiology and Applied Sciences, 10(10) : 584-600.

Schubert, K., Steven, W.M., Bergen, D.M. and Schaap, F.G. (2017). Interactions between bile salts, gut microbiota, and hepatic innate immunity. Immunological Reviews, 275(1) : 23-35.

Sohn, H., Chang, Y.H., Yune, J.H., Jeong, J.H.,

Shin, D.M., Kwon, C.H., Kim, D.H., Hong, S.W.,

Hwang, H., Jeong, J.Y. and Han, S.G. (2020). Probiotic properties of Lactiplantibacillus plantarum LB5 isolated from kimchi based on nitrate reducing capability, Foods, 9 : 1777. https//doi:10.3390/foods9121777.

Urdaneta, V. and Casadesús, J. (2017). Interactions between bacteria and bile salts in the gastrointestinal and hepatobiliary tracts. Frontiers In Medicine, 4(1) : 1-13.

Zhang, H., HuangFu, H., Wang, X., Zhao, S.,

Liu, Y., Lv, H., Qin, G. and Tan, Z. (2021). Antibacterial activity of lactic acid producing Leuconostoc mesensteroides QZ1178 against pathogenic Gallibacterium anatis. Frontiers in Veterinary Science, 8 : 1-10.