กรณีศึกษา สถานการณ์สารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในผักที่จำหน่ายในตลาดสดในเขต อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ

Main Article Content

ฐิติญานนท์ สัสดีไกรษร
ธิติกร เมธีวุฒิกร
ธีริศรา ถนอมเนื้อ
ปรียากรณ์ เอกอัจฉริยกุล
ศุจิมน มังคลรังษี

บทคัดย่อ

         งานวิจัยนี้ศึกษาสถานการณ์การตกค้างของสารเคมีกำจัดศัตรูพืชกลุ่มออร์กาโนฟอสเฟส และคาร์บาเมตตกค้าในผักสด โดยตรวจสอบผักสด 5 ชนิด ได้แก่ แตงกวา คะน้า ถั่วฝักยาว พริกขี้หนูสด และมะเขือเปราะ รวมทั้งหมดจำนวน 70 ตัวอย่าง สุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบสะดวก (Convenience Sampling Methods) จากตลาดสดในพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ โดยเลือกตลาดสดขนาดใหญ่ ดังนี้ ตลาดหนามแดง ตลาดสำโรง และตลาดในพื้นที่ตำบลเทพารักษ์  ทำการตรวจด้วยชุดตรวจหาสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้าง MJPK ของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์  ทำการศึกษาในช่วงเดือน ตุลาคม 2565 ผลการศึกษาตรวจพบสารเคมีกำจัดศัตรูพืชกลุ่มออร์กาโนฟอสเฟตและคาร์บาเมตตกค้างระดับไม่ปลอดภัยมาก ในตัวอย่างถั่วฝักยาว จำนวน 1 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 1 อีก 69 ตัวอย่าง ตรวจพบว่าอยู่ระดับปลอดภัยทั้งหมด สรุปผลการศึกษา ผักสดที่นำมาจำหน่ายให้แก่ผู้บริโภคยังมีสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในระดับที่เป็นอันตราย

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2564). ผลกระทบต่อสุขภาพจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช. 5 มีนาคม 2566. เข้าถึงได้จาก : http://envocc.ddc.moph.go.th/contents/view/106.

กระทรวงสาธารณสุข. (2561). ประกาศกระทรวงสาธารณสุข อาหารที่มีสารพิษตกค้าง. 22 ตุลาคม 2561, เข้าถึงได้จาก : http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2561/E/264/T_0010.PDF.

กลุ่มนโยบายและวิชาการสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดสมุทรปราการ. (2564). รายงานถานการณ์ทางสังคม จังหวัดสมุทรปราการ ปี 2564. 5 มีนาคม 2566. เข้าถึงได้จาก : https://samutprakan.m-society.go.th/wp-content/ uploads/2021/10/รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัดสมุทรปราก.pdf.

ชวัลรัตน์ สมนึก, นฤมล อิ่มศรี, สุจิตรา ปินะถา และหิรัญ หิรัญรัตนพงศ. (2565). การตรวจหาสารตกค้างกลุ่มออร์กาโนฟอสเฟตและคาร์บาเมตในผัก จากตลาดสดและห้างสรรพสินค้าในเขตอำเภอเมืองจันทบุรี. วารสารวิจัย. 15(1) : 12-17.

ทีมข่าว TCIJ. (2562). 11 ปีไทยนำเข้าสารเคมีเกษตร 1.66 ล้านตัน 2.46 แสนล้านบาท เจ็บป่วยเฉลี่ยปีละ 4 พันราย. 2 ตุลาคม 2562, เข้าถึงได้จาก : https://www.tcijthai.com/news/2019/05/scoop/9456.

ไทยแพน. (2562). ไทยแพนเปิดผลตรวจผักผลไม้พบสารพิษตกค้างเกินมาตรฐาน 41% ผักห้างแย่กว่าผักตลาดสด ตะลึงพบสารพิษห้ามใช้ในประเทศไทยตกค้างอื้อ 12 ชนิด. 26 มิถุนายน 2562, เข้าถึงได้จาก : https://thaipan.org/action/1107.

ธนพงศ์ ภูผาลี, อรนุช วงศ์วัฒนาเสถียร, สมศักดิ์ อาภาศรีทองสกุล และมาลี สุปันตี. (2559). ความชุกของการมีสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในผักจากตลาดและห้างสรรพสินค้าในอำเภอเมืองจังหวัดมหาสารคาม. วารสารเภสัชกรรมไทย, 8(2) : 400-409.

ธเรศ กรัษนัยรวิวงค์. (2562). ขอผู้บริโภควางใจ อย. เฝ้าระวังสารตกค้างในผักผลไม้อย่างเข้มงวด. 1 กรกฎาคม 2562, เข้าถึงได้จาก : https://www.bangkokbiznews.com/social/839324.

สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. (2564). ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา พ.ศ. 2564 เรื่อง คำชี้แจงมาตรการเฝ้าระวังผักและผลไม้ที่อาจมีสารพิษตกค้างทางรเกษตร. 5 มีนาคม 2566, เข้าถึงได้จาก : https://food.fda. moph.go.th/law/data/announ_fda/63_PesticideResidue.pdf.

ปัณณทัต สุทธิรักษ์, อัจฉริยะกูล พวงเพ็ชร์, เวธกา เช้าเจริญ, พรอริยา ฉิรินัง โสภณ เกตุแก้ว และทวิพัฒน์ วิจิตรปัญญารักษ์. (2564). การศึกษาสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างกลุ่มออร์กาโนฟอสเฟตและคาร์บาเมตในผักสด ในอำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี และแนวทางการบริโภคผักให้ปลอดภัย. วารสารคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 18(1) : 1-11.

พัชรี ภคกษมา, สุวรรณี สายสิน และศรมน สุทิน. (2559). การตรวจสอบสารเคมีฆ่าแมลงตกค้างของสารกลุ่มออร์กาโนฟอสเฟตและคาร์บาเมตในผักในพื้นที่จังหวัดสมุทรปราการ. สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, 5(1) : 22-30.

วิจิตรา เหลียวตระกูล, วชิรญา เหลียวตระกูล, ปรียานุชเพียนเลี้ยงชีพ และรวีวรรณ เดื่อมขันมณี. (2563). การตรวจสอบสารเคมีตกค้างกลุ่มออร์กาโนฟอสเฟตและคาร์บาเมตในผักสดในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาและประสิทธิภาพในการล้างผักต่อสารเคมีตกค้างในผักคะน้า. วารสารเกษตรพระจอมเกล้า, 38(1) : 131-138.

วิมลรัตน์ อินศวร, เดือนเพ็ญ กาญจนะยานุรักษ์, นาฏยา พันธ์ศรี, รักษ์จินดา วัฒนาลัย, สุพจนา เจริญสิน และดลฤดี ครุฑเกิด. (2564). การศึกษาการปนเปื้อนของสารกำจัดศัตรูพืช (กลุ่มออร์กาโนฟอสเฟตและคาร์บาเมต) ในผักและผลไม้. 5 มีนาคม 2566, เข้าถึงได้จาก : http://www3.rdi.ku.ac.th/ exhibition/52/03-foods/wimonrut/food_00.html.

ศุจิมน มังคลรังษี, สุวพิชญ์ เตชะสาน, วีรยา สินธุกานนท์, จิดาภา รัตนถาวร, ธัญณ์สิริ วิทยาคม, ภูษณิศากิจกาญจนกุล, ณกัณฐพันธ์ ประมาพันธ์ และเดชาธร สมใจ. (2565). วารสารวิชาการสาธารณสุขชุมชน, (8)4 : 129-140.

สำนักงานเกษตรและสหกรณ์ จังหวัดสมุทรปราการ. (2565). ข้อมูลพื้นฐานของจังหวัดสมุทรปราการ. 5 มีนาคม 2566, เข้าถึงได้จาก : https://www.opsmoac.go.th/samutprakan-dwl-files-431991791978.

สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล. (2564). สารกำจัดวัชพืชที่มีปริมาณการนำเข้าสูง. 7 พฤษภาคม 2564, เข้าถึงได้จาก : https:// data.go.th/dataset/importherbicidevol?id=66e4ce3f-e3e7-4a8c-b188-2240db9129f8&is_fullscreen=1.

สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ. (2562). ผลกระทบของสารกำจัดศัตรูพืชวายร้าย. 20 กุมภาพันธ์ 2562, เข้าถึงได้จาก : https://warning.acfs.go.th/en/articles-and-research/view/?page=26.

Asianmedic. (2019). ชุดทดสอบยาฆ่าแมลงตกค้างในผัก-ผลไม้-MJPK. 5 มีนาคม 2566, เข้าถึงได้จาก : https://asianmedic. com/wp-content/uploads/2019/06/ชุดทดสอบยาฆ่าแมลงตกค้างในผัก-ผลไม้-MJPK.pdf

Pedroso, T.M.A., Benvindo-Souza, M. and Nascimento, F.A. (2021). Cancer and occupational exposure to pesticides : a bibliometric study of the past 10 years. Environmental Science and Pollution Research, 2022(29) : 17464–17475.

Sanborn, M., Bassil, K., Vakil, C., Kerr, K. and Ragan K. (2012). Systematic Review of Pesticide Health Effects. Ontario : Ontario College of Family Physicians.

World Health Organization. (2022). Food Safety. Retrieved May 19; 2022. from : https://www. who.int/news-room/fact-sheets/detail/food-safety.