การออกแบบอุปกรณ์ควบคุมการทรงตัวสำหรับช่วยส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ: กรณีศึกษาคลินิกกายภาพบำบัด สถาบันสิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพ ทางการแพทย์แห่งชาติ

ผู้แต่ง

  • ยิ่งยง รุ่งฟ้า สาขาวิชาเทคโนโลยีการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก
  • ธนพล ก่อฐานะ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขานวัตกรรมการจัดการ วิทยาลัยนวัตกรรมและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
  • จารุกิตต์ เสพศิริ สาขาวิชาเทคโนโลยีการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก
  • พรชัย อัจฉริยเมธากร สาขาวิชาเทคโนโลยีการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก
  • ธัญญพัทธ์ วัฒนจิรพันธุ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก
  • ญาณัญฎา ศิรภัทร์ธาดา สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก 4หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขานวัตกรรมการจัดการ วิทยาลัยนวัตกรรมและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

คำสำคัญ:

การอออกแบบอุปกรณ์ควบคุมทรงตัว, การส่งเสริมคุณภาพชีวิต, ผู้สูงอายุ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาวิเคราะห์สภาพปัญหาในการดำเนินชีวิตของผู้สูงอายุของคลินิกกายภาพบำบัด สถาบันสิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี เพื่อนำไปออกแบบชุดควบคุมการทรงตัวที่ช่วยส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุและนำไปประเมินความพึงพอใจทางด้านการใช้งาน ขอบเขตของการวิจัยทำการออกแบบอุปกรณ์ควบคุมการทรงตัวในการเดิน และชุดควบคุมการทรงตัวในการลุกนั่ง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นผู้สูงอายุชาย และหญิงที่มีช่วงอายุ 60 ปี เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบการสัมภาษณ์ผู้สูงอายุ แบบการสัมภาษณ์นักกิจกรรมบำบัดและแบบการประเมินความพึงพอใจด้านการใช้งานของอุปกรณ์ ผลการวิจัยสามารถแยกออกเป็นดังนี้ ผลการออกแบบอุปกรณ์ควบคุมทรงตัวในการเดินใช้วัสดุอลูมิเนียมทำการยึดจับส่วนต่าง ๆ ด้วยข้อต่อสำเร็จรูปที่ล็อคได้และมีการติดตั้งวัสดุกันกระแทกส่วนล้อมีทั้งหมด 2 ล้อสามารถหมุนได้รอบ ด้านหน้ามีระบบเซ็นเซอร์เพื่อป้องกันอันตรายจากการเดินชน มีกระเป๋าใส่สัมภาระ ส่วนผลการออกแบบอุปกรณ์ควบคุมทรงตัวในการลุกนั่งออกแบบที่คำนึงถึงความแข็งแรงใช้วัสดุที่ผลิตจากอลูมิเนียมยึดจับด้วยข้อต่อสำเร็จรูปซึ่งการใช้งานของอุปกรณ์ที่เป็นการใช้งานร่วมกับที่นอนผู้สูงอายุโดยการสอดไว้ใต้ที่นอนสามารถให้ผู้งอายุจับเพื่อพยุงตัวในการลุกนั่ง มีอุปกรณ์กันกระแทกตามจุดเสี่ยงต่าง ๆ ส่วนผลการประเมินความพึงพอใจด้านการใช้งานของชุดควบคุมการทรงตัวสำหรับช่วยส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุทั้ง 2 ต้นแบบพบว่าอยู่ในระดับพึงพอใจมาก

References

ขจิต เมตตาเมธา. (2566). การออกแบบเพื่อมวลชน Universal Design. สืบค้นเมื่อ 1 มิถุนายน 2567, จาก https://www.scimath.org/article-technology/item/12879-universal-design

ชิดชนก ศรีราช และ ชาญชลักษณ์ เยี่ยมมิตร. (2565). การศึกษาความอ่อนตัวและคุณภาพชีวิตด้านร่างกายของผู้สูงอายุจังหวัดจันทบุรีโดยใช้โปรแกรมการฝึกยืดเหยียดกล้ามเนื้อ. วารสารสหวิทยาการสังคมศาสตร์และการสื่อสาร, 5(3), 116–128.

ทิพวัลย์ ทองอาจ. (2553). การออกแบบเพื่อมวลชน Universal Design. วารสารนักบริหาร, 30(3), 83-86.

อรนิษฐ์ แสงทองสุข. (2564). การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุของประเทศไทยในปัจจุบัน: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมทางสังคมและการสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อคุณภาพชีวิต. วารสารการพัฒนาสังคมและสุขภาพ, 12(2), 45–58. https://so06.tci-thaijo.org/index.php/jshd/article/view/247278

Arnaoutoglou, D., Dedemadis, D., Katsimentes, S., Kyriakou, A. A., Sirakoulis, G. C., Kyriacou, G., & Aggelousis, N. (2023, September). Toward real time processing of radar signals detecting elderly people fall. In 2023 18th International Workshop on Cellular Nanoscale Networks and their Applications (CNNA) (pp. 1-3). https://doi.10.1109/CNNA60945.2023.10652639

Brienza, D. M., Karg, P. E., & Brubaker, C. E. (1996). Seat cushion design for elderly wheelchair users based on minimization of soft tissue deformation using stiffness and pressure measurements. IEEE Transactions on Rehabilitation Engineering, 4(4), 320–327. https://doi.org/10.1109/86.547933

Brown, S., & Eisenhardt, K. (1995). Product development: past research, present findings, and future directions. Academy of Management Review, 20(2), 343–378. https://doi.org/10.5465/amr.1995.9507312922

Brownie, S., & Nancarrow, S. (2013). Effects of person-centered care on residents and staff in aged-care facilities: a systematic review. Clinical Interventions in Aging, 8, 1–10. https://doi.org/10.2147/CIA.S38589

Cheung, K., Hume, P. A., & Maxwell, L. (2003). Delayed onset of muscle pain: Treatment strategies and efficacy factors. Sports Medicine, 33(2), 145–164. https://doi.org/10.2165/00007256-200333020-00005

Ferrer, A., Formiga, F., Sanz, H., de Vries, O. J., Badia, T., & Pujol, R. (2014). Multidimensional assessment and targeted interventions to reduce falls in older adults: A randomized controlled clinical intervention trial in the elderly. Clinical Interventions in Aging, 9, 383–393. https://doi.org/10.2147/CIA.S57580. PMID: 24596458; PMCID: PMC3940644.

Hunter, D. J., & Felson, D. T. (2006). Osteoarthritis. BMJ (Clinical Research Ed.), 332, 639–642. https://doi.org/10.1136/bmj.332.7542.639

Kunzler, M. R., da Rocha, E. S., Bobbert, M. F., Duysens, J., & Carpes, F. P. (2017). Acute effects of walking exercise on stair climbing in physically inactive and active older adults. Journal of Physical Activity and Health, 14, 532–538. https://doi.org/10.1123/jpah.2016-0546. PMID: 28290748.

Li, J., Xue, Q., Yang, S., & Guo, J. (2019). Human motion law based design and control for sit-to-stand assisting devices. In 2019 IEEE International Conference on Computation, Communication and Engineering, ICCCE 2019 (pp. 150-153). Institute of Electrical and Electronics Engineers Inc. DOI: 10.1109/ICCCE48422.2019.9010763.

National Institute on Aging. (2020). Maintaining mobility and preventing disability are key to living independently as we age. https://www.nia.nih.gov/news/maintaining-mobility-and-preventing-disability-are-key-living-independently-we-age

Naylor, M. D., Brooten, D., Campbell, R., Jacobsen, B. S., Mezey, M. D., Pauly, M. V., & Schwartz, J. S. (2021). Comprehensive discharge planning and home follow-up of hospitalized elder: A randomized clinical trial. JAMA: The Journal of the American Medical Association, 281(7), 613–620. https://doi.org/10.1001/jama.281.7.613

O’Brien Cousins, S. (2001). Thinking out loud: What older adults say about triggers for physical activity. Journal of Aging and Physical Activity, 9, 347–363. https://doi.org/10.1123/japa.9.4.347

Preiser, W. F. E. & Ostroff, E. (2001) Universal design handbook. McGraw-Hill. https://www.academia.edu/19286642/Universal_Design_Handbook

Ronggang, Z., Shengshan, H., Xiangang, Q., & Huang, J. (2008). A survey of user-centered design practice in China. In 2008 IEEE International Conference on Systems, Man and Cybernetics, 2625–2629. https://doi.org/10.1109/ICSMC.2008.4811564

Schultz, A. B., Ashton-Miller, J. A., & Alexander, N. B. (1997). What leads to age and gender differences in balance? Muscle Nerve Suppl., 5, S60–S64.

United Nations, Department of Economic and Social Affairs. (2021). World population ageing 2020: Highlights, living arrangements of older persons. https://doi.org/10.18356/9789210051934

Walker, A., & Maltby, T. (2022). Active ageing: A strategic policy solution to demographic ageing in the European Union. International Journal of Social Welfare, 21(S1), S117–S130. https://doi.org/10.1111/j.1468-2397.2012.00871.x

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-27