การเปรียบเทียบประสิทธิภาพการดูดซับฟลูออไรด์ด้วยวัสดุดูดซับ

ผู้แต่ง

  • ปาจรีย์ บุญทวี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • วนิดา ชูอักษร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

คำสำคัญ:

ฟลูออไรด์, กระบวนการดูดซับ, ถ่านกัมมันต์, ไคโตซาน

บทคัดย่อ

การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพของการดูดซับฟลูออไรด์ของถ่านกัมมันต์ ไคโตซาน และถ่านกัมมันต์ เคลือบสารละลายไคโตซาน เป็นการทดลองดูดซับแบบแบบกะ ควบคุมความเป็นกรดด่าง 6.7 และความเข้มข้นของ ฟลูออไรด์ 5.0 มิลลิกรัมต่อลิตร โดยศึกษาระยะเวลาสมดุล จำนวนรอบสมดุลของการเขย่า ประสิทธิภาพการดูดซับ และไอโซเทอมของการดูดซับ ที่อุณหภูมิห้อง ผลการศึกษา พบว่า ไคโตซานมีประสิทธิภาพในการดูดซับมากที่สุด ที่ ระยะเวลาการดูดซับ 20 นาที ลดฟลูออไรด์ได้ร้อยละ 50 ส่วนถ่านกัมมันต์ และถ่านกัมมันต์เคลือบสารละลายไคโต ซาน มีประสิทธิภาพในการการดูดซับร้อยละ 40 ไคโตซานมีจำนวนรอบสมดุลของการเขย่า คือ 100 รอบต่อนาที โดยมีประสิทธิภาพในการดูดซับฟลูออไรด์ได้ถึงร้อยละ 70 ส่วนถ่านกัมมันต์ ส่วนถ่านกัมมันต์์เคลือบสารละลายไคโต ซาน มีจำนวนรอบที่เหมาะสมคือ 0 รอบต่อนาที โดยมีประสิทธิภาพในการดูดซับฟลูออไรด์ร้อยละ 40 ปริมาณของ วัสดุดูดซับที่เหมาะสมของทั้ง 3 ชนิด คือ 5 กรัมต่อลิตร โดยไคโตซาน สามารถดูดซับฟลูออไรด์ได้สูงที่สุดร้อยละ 80 ส่วนถ่านกัมมันต์และถ่านกัมมันต์เคลือบสารละลายไคโตซานสามารถดูดซับได้ ร้อยละ 40 นอกจากนี้จากการศึกษา เปรียบเทียบไอโซเทอมของการดูดซับแบบแลงค์เมียร์ และฟรุนดิชของตัวดูดซับทุกชนิด พบว่า มีกลไกลการดูดซับ สอดคล้องกับสมการไอโซเทอมของฟรุชดิช โดยมีสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ 0.9887, 0.9860 และ 0.9889 ตามลำดับ

References

กรมอนามัย. (2557). กรมอนามัยหนุน พื้นที่เสี่ยงฟลูออไรด์ในน้ าสูง เร่งส่งน้ าตรวจป้องกันฟันตกกระ ลดค่าใช้จ่ายครอบฟันกว่า 10,000 บาทต่อคน. สืบค้น 30 มิถุนายน พ .ศ . 2563, จาก http://www.anamai.moph.go.th/ewt_news.php?nid=7341

สัมฤทธิ์ โม้พวง. (2558). คาร์บอนกัมมันต์. พิมพ์ครั้งที่ 1. พิษณุโลก: ส านักพิมพ์มหาวิทยาลัยนเรศวร.

วรรณี ศรีนุตตระกูล. (2553). จากเปลือกกุ้งและกระดองปูสู่ไคโตซาน. สืบค้น 22 กุมภาพันธ์ 2563, จาก http://www0.tint.or.th/

ศรีวิไล โฆษิตชัยยงค์, สิริลักษณ์ เจียรากร และสร้อยดาว วินิจนันทรัตน์. (2551). การปรับปรุงวัสดุดูดซับจากตะกอนโรงผลิตน้ าประปาเพื่อกำจัดฟลูออไรด์. รายงานการประชุมวิชาการด้านพลังงานสิ่งแวดล้อมและวัสดุ. 31 สิงหาคม 2550 โรงแรมเดอะทวิน ทาวเวอร์ กรุงเทพมหานคร.

กรมทรัพยากรน้ าบาดาลกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (2555). โครงการศึกษาเพิ่มประสิทธิภาพของระบบปรับปรุงคุณภาพน้ำบาดาล (รายงานฉบับสุดท้าย). สืบค้น 14 พฤษภาคม 2563, จาก www.dgr.go.th

กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (ม.ป.ป.). แผนที่ฟลูออไรด์ในน้ำบาดาล. สืบค้น 11 เมษายน 2563, จาก icoh.anamai.moph.go.th › article_20190226100753

ชนิสา หงอสุวรรณ. (2548). การดูดซับสีย้อมสีแอฟทีฟ และสีย้อมเบสิคโดยใช้กากตะกอนของเสีย. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. 2548.

จิราภรณ์ ผิดน้อย. (2540). การใช้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์แสดงพื้นที่เสี่ยงจากปริมาณฟลูออไรด์ในน้ำบาดาลจังหวัดล าพูน (รายงานวิจัย). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพะเยา. (2554). ผลการตรวจวิเคราะห์ปริมาณฟลูออไรด์ในน้ าบริโภค 2554.

Emmanuel, K.A., Ramaraju, K.A., Rambabu, G., Veerabhadra, A. (2008) Removal of Fluoride from Drinking Water with Activated Carbons Prepared from NHO3 Activation-A Comparative Study. Rasayan Journal of Chemistry, 1(4), 802-818.

ณัฐิกา โภชนุกุล, ปิยาภรณ์ คู่ศรีสมทรัพย์, ฟาเดีย หะยีอิสมาแอ, สกรรัตน์ เจียวก๊ก, และเอกพงศ์ วชาติมานนท์. (ม.ป.ป.). ผลของไคโตซานต่อการคงอยู่ของฟลูออไรด์ในช่องปาก (รายงานการวิจัย). สงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลานครินคร์.

อุษณีย์ รักษ์ไชยวรรณ, ยุพดี กูลรัตน์กิติวงศ์ และโกวิทย์ ปิยะมังคลา. (2557). สมดุลและจลศาสตร์การดูดซับไอออนเงินโดยไคโตซานผสมพอลิไวนิลแอลกอออล์เรซิน. วารสารวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 9(2), 12-22.

Chooaksorn, W., Nitisoravut, R., Polprasert, C., Babel, S., Laohhasurayotin, K.,Kangwansupamonkon, W. (2016). Enhancement of Cr (VI) ion Removal Using Nanochitosan Coated on Bituminous Activated Carbon. Water Environment Research, 88(11), 2150-2158.

] Chooaksorn, W. , Nitisoravut, R. Development of New Hybrid Nanosorption/Ceramic Microfiltration for Cu (II) Removal. Desalination and Water Treatment, 63 (2017), 135-144.

กิติศักดิ์ เสพศิริสุข, วิทยา ปั้นสุวรรณ และนิพนธ์ ตังคณานุรักษ์. (2552). การเปรียบเทียบความสามารถในการดูดซับสารพิษฟอร์โบลเอสเทอร์ในน้ ามันสบู่ด าโดยใช้เบนโทไนต์ชนิดต่างๆ.การประชุมทางวิชาการของ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 47: สาขาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, กรุงเทพมหานคร, 17-20 มีนาคม 2552, 327-334.

Kamble, S.P., Jagtap, S., Labhsetwar, N.K., Thakare, D., Godfrey, S., Devotta, S., Sadhana, S.R. (2007). Defluoridation of Drinking Water Using Chitin Chitosan and Lanthanum-Modified Chitosan. Chemical Engineering Journal, 129(1-3), 173-180.

ปราโมช เชี่ยวชาญ. (ม.ป.ป.). การปรับปรุงคุณภาพน้ าในโรงงานอุตสาหกรรม ตอนที่ 2 กระบวนการดูดซับ. สืบค้น 9 เมษายน 2563, จาก www.วารสารความปลอดภัยและสุขภาพ.com › 2436

นิพนธ์ ตังคณานุรักษ์ และคณิตา ตังคณานุรักษ์. (2555). หลักการการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ าทางเคมี. พิมพ์

ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: ส านักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

Poudyal, M., Babel, S. (2015). Removal of Fluoride using Granular Activated Carbon and Domestic Sewage Sludge. Proceedings of the 4th International Conference on Informatics, Environment, Energy and Applications, Pattaya, 28 March 2015, 139-143.

Geethamani, C.K., Ramesh, S.T, Grandhimathi R. Nidheesh, P.V. (2013). Alkali-treated fly ash for the removal of fluoride from aqueous solutions. Desalination and Water Treatment, 52(19-21), 3466-3476.

Harikumar, P.S.P., Jaseela, C., Megha, T. (2012). Defluoridation of Water Using Biosorbents. Natural Science, 4(4),245-251.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-03-31

How to Cite

[1]
บุญทวี ป. และ ชูอักษร ว., “การเปรียบเทียบประสิทธิภาพการดูดซับฟลูออไรด์ด้วยวัสดุดูดซับ”, JSciTech, ปี 5, ฉบับที่ 1, น. 95–105, มี.ค. 2021.