การศึกษาปัจจัยที่มีผลกระทบต่อค่าดัชนีความแข็งเชิงกดของฟองน้ำลาเท็กซ์

ผู้แต่ง

  • กาจพันธ์ สกุลแก้ว กองวัสดุวิศวกรรม กรมวิทยาศาสตร์บริการ
  • ประเสริฐ แซ่จู กองวัสดุวิศวกรรม กรมวิทยาศาสตร์บริการ

DOI:

https://doi.org/10.60136/bas.v8.2019.249

คำสำคัญ:

ฟองน้ำลาเท็กซ์, ดัชนีความแข็งเชิงกด, ความหนาแน่น

บทคัดย่อ

ฟองน้ำลาเท็กซ์ทํามาจากน้ำยางธรรมชาติมีลักษณะเป็นรูพรุนระบายอากาศและรองรับน้ำหนักกดได้ดีจึงนิยมใช้ทําเป็นผลิตภัณฑ์ หมอนและที่นอน ค่าดัชนีความแข็งเชิงกดเป็นสมบัติที่สําคัญอันหนึ่งซึ่งสะท้อนถึงคุณภาพของผลิตภัณฑ์ฟองน้ำลาเท็กซ์ได้เป็นอย่างดีงาน วิจัยนี้เป็นการศึกษาปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อค่าดัชนีความแข็งเชิงกดของฟองน้ำลาเท็กซ์ตามวิธีการทดสอบในมาตรฐาน มอก. 2747-2559 และ ISO 2439-2008 (Method A) เช่น ความหนาแน่น ความหนาของชิ้นทดสอบ ตําแหน่งที่ตัดตัวอย่างเพื่อนํามาเตรียมเป็นชิ้นทดสอบ ซึ่งผลจากการศึกษา พบว่าปัจจัยต่าง ๆ เหล่านี้มีผลอย่างมีนัยสําคัญต่อผลการวัดดัชนีความแข็งเชิงกดของฟองน้ำลาเท็กซ์

References

MALAYSIAN STANDARD. MS 679:2011. Latex foam rubber mattresses for domestic and general use – Specification (Second revision). 2011.

SOPPI, E., J. LEHTIÖ and H. SAARINEN. An overview of polyurethane foams in higher specification foam mattresses. Ostomy Wound Manage. 2015, 61(2), 38-46.

INTERNATIONAL ORGANIZATION FOR STANDARDIZATION. ISO 2439:2008. Flexible cellular polymeric materials Determination of harness (indentation technique). 2008.

สำนักงานมาตฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. มอก. 2747-2559. ฟองน้ำลาเท็กซ์สำหรับทำที่นอน. 2559.

ดัชนีความแข็งเชิงกดวัดโดยกดให้ชิ้นทดสอบฟองน้ำยุบตัวร้อยละ 25 ของความหนาเริ่มต้น แล้วอ่านค่าแรงกด หน่วย นิวตัน (ASTM D 1055)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

07-10-2022

How to Cite

สกุลแก้ว ก., & แซ่จู ป. (2022). การศึกษาปัจจัยที่มีผลกระทบต่อค่าดัชนีความแข็งเชิงกดของฟองน้ำลาเท็กซ์. วารสารวิทยาศาสตร์ประยุกต์ กรมวิทยาศาสตร์บริการ, 8(8), 17–24. https://doi.org/10.60136/bas.v8.2019.249