การประมาณค่าสัมประสิทธิ์การแปรผันเมื่อมีข้อมูลสูญหาย

ผู้แต่ง

  • ชูเกียรติ โพนแก้ว ผู้ประพันธ์บรรณกิจ

คำสำคัญ:

ข้อมูลสูญหาย, ความน่าจะเป็นที่ตอบสนอง, การจาลองแบบมอนติคาร์โล

บทคัดย่อ

การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ นำเสนอตัวประมาณค่าสัมประสิทธิ์การแปรผัน กรณีที่มีข้อมูลสูญหายที่จะเกิดจากการไม่ตอบเฉพาะบางคำถาม ภายใต้การสุ่มแบบกำหนดความน่าจะเป็นให้เป็นสัดส่วนกับขนาดและใส่คืนรวมถึงสัดส่วนตัวอย่างมีขนาดเล็ก จากนั้นเปรียบเทียบตัวประมาณค่าสัมประสิทธิ์การแปรผันที่นำเสนอ กับตัวประมาณค่าสัมประสิทธิ์การแปรผันที่ปรับด้วยวิธีตัดข้อมูล ด้วยค่าความเอนเอียงสัมพัทธ์ และ ค่ารากที่สองของความคลาดเคลื่อนกำลังสองเฉลี่ยสัมพัทธ์ กำหนดความน่าจะเป็นที่จะตอบสนอง เท่ากับ 0.7 และ 0.85 กำหนดขนาดตัวอย่างเท่ากับ 15,20, 25, 50,120 และ 200 การวิจัยในครั้งนี้ใช้วิธีการจำลองแบบมอนติคาร์โล และกำหนดการทำซ้าทั้งหมด 50,000 ครั้ง ในแต่ละสถานการณ์ พบว่า ตัวประมาณค่าสัมประสิทธิ์การแปรผันที่นำเสนอ มีค่าความเอนเอียงสัมพัทธ์ และ ค่ารากที่สองของความคลาดเคลื่อนกำลังสองเฉลี่ยสัมพัทธ์ ต่ากว่าตัวประมาณค่าสัมประสิทธิ์การแปรผันที่ปรับด้วยวิธีตัดข้อมูล

References

Archana, V. and Aruna Rao, K. (2011). Improved Estimators of Coefficient of Variation in a Finite Population. Statistics in Transition new series, 12(2), 357-380.

Singh, R. and Mishra, M. (2019). Estimating Population Coefficient of Variation using a Single Auxiliary Variable in Simple Random Sampling. Statistics in Transition new series, 20(4), 89-111.

Das, A. K., & Tripathi, T. P. (1981). A class of estimators for co-efficient of variation using knowledge on coefficient of variation of an auxiliary character. In annual conference of Ind. Soc. Agricultural Statistics. Held at New Delhi, India.

Singh, H. P. and Solanki, R. S. (2012). An efficient class of estimators for the population mean using auxiliary information in systematic sampling, Journal of Statistical Theory and Practice 6(2), 274–285.

จินดา สวัสดิ์ทวี และสุชาดา กรเพชรปาณี. (2012). การประมาณค่าสัมประสิทธิ์การแปรผันแบบใหม่ของข้อมูลที่อยู่ในรูปอัตราส่วนที่สัมพันธ์กัน. วารสารวิจัย มข. 17 (2). 287-292.

Hansen, M.H. and Hurwitz, W.N. (1960). The problem of non-response in sample surveys. Journal of the American Statistical Association, 41(236), 517–529.

Archana, V. and Aruna Rao, K. (2011). Estimation of Co-efficient of Variation in PPS sampling , 58th Proceedings of the 2011 World Statistics Congress. 4019-4025.

ชูเกียรติ โพนแก้ว และหยาดพิรุณ ศุภรากรสกุล. (2559). การประมาณค่าความแปรปรวนของตัวประมาณค่าเฉลี่ยประชากรในกรณีที่มีข้อมูลไม่ตอบสนอง เมื่อสัดส่วนตัวอย่างมีขนาดเล็ก. การประชุมสัมมนาวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ เครือข่ายบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ ครั้งที่ 16 และการประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ ครั้งที่ 3 “งานวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น”, มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์, 573-584.

Sampath, S. (2001). Sampling theory and methods. Norosa publishing, India.

วราฤทธิ์ พานิชกิจโกศลกุล. (2552). การจำลองแบบมอนติคาร์โลสำหรับประมาณค่าสัมประสิทธิ์ความแปรผันของการแจกแจงอินเวอร์สเกาส์เซียนเมื่อมีข้อมูลสูญหาย. วารสาร มทร.อีสาน, 2(2), 44-51.

การประมาณค่าสัมประสิทธิ์การแปรผัน กรณีที่มีการสูญหายของข้อมูล ด้วยตัวประมาณค่ามีค่าตามที่แสดงในสมการที่ (9)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

09-09-2022