การพัฒนาพิพิธภัณฑ์เสมือนจริง พิพิธภัณฑสถานจังหวัดกำแพงเพชร เฉลิมพระเกียรติ (พิพิธภัณฑ์เรือนไทย)
คำสำคัญ:
สามมิติ, ความเป็นจริงเสมือน, พิพิธภัณฑ์, พิพิธภัณฑ์เสมือนจริง, พิพิธภัณฑ์เรือนไทย, กำแพงเพชรบทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบพิพิธภัณฑ์เสมือนจริงโดยใช้เทคโนโลยีความเป็นจริงเสมือน (Virtual Reality: VR) เพื่อเพิ่มการเข้าถึงข้อมูลทางด้านวัฒนธรรม วิธีการวิจัยประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การศึกษาข้อมูลเบื้องต้นจากเอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และการสัมภาษณ์ผู้ดูแลพิพิธภัณฑ์เรือนไทย 2) การออกแบบระบบ โดยใช้แบบจำลองข้อมูลและกระบวนการ (Data and Process Model) และการออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้งาน (UI/UX) 3) การพัฒนาระบบด้วยโปรแกรม Autodesk Maya ในการสร้างโมเดล 3 มิติ และโปรแกรม Unity ในการพัฒนาสภาพแวดล้อมเสมือนจริงของพิพิธภัณฑ์เรือนไทย 4) การทดสอบและประเมินผลจากผู้ดูแลพิพิธภัณฑ์ 5 คน และกลุ่มเยาวชนจังหวัดกำแพงเพชร อายุ 15–24 ปี จำนวน 30 คน โดยใช้แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ และ และคำถามปลายเปิดสำหรับรวบรวมความคิดเห็นเพิ่มเติม และ 5) การวิเคราะห์และสรุปผลด้วยสถิติพรรณนา
ผลการวิจัยพบว่าผู้ใช้งานมีความพึงพอใจในระดับ "มาก" (ค่าเฉลี่ย 3.81) โดยเฉพาะในด้านเนื้อหาและ
ความชัดเจนของภาพ 3 มิติ อย่างไรก็ตาม ด้านความสมจริงของภาพยังต้องการการปรับปรุงเพิ่มเติม ข้อเสนอแนะจาก
การวิจัย ได้แก่ การเพิ่มฟังก์ชันแบบอินเทอร์แอกทีฟ เช่น หน้าต่างแสดงข้อมูลพร้อมเสียงบรรยาย และกิจกรรมในรูปแบบเกม เพื่อเสริมการมีส่วนร่วมของผู้ใช้งาน นอกจากนี้ ควรพัฒนาระบบให้รองรับอุปกรณ์พกพา เช่น สมาร์ทโฟนและแท็บเล็ต เพื่อเพิ่มการเข้าถึงและตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใช้งานในยุคดิจิทัล
References
พิพิธภัณฑสถานจังหวัดกำแพงเพชร เฉลิมพระเกียรติ. (2562). ประวัติพิพิธภัณฑสถานจังหวัดกำแพงเพชร
เฉลิมพระเกียรติ. https://acc.kpru.ac.th/rtmuseum/?
Any i media: ทำความรู้จักกับเทคโนโลยี AR - VR - MR ที่จะเข้ามาเติมเต็มประสบการณ์แปลกใหม่ในอนาคต.
(2565). Anyimedia. https://www.anyimedia.com/ar-vr-mr
Benja Puripongsatorn: เทคโนโลยี AR & VR กับการศึกษา. (2565). Walailak University. https://library.
wu.ac.th/km/%ef%bf%bc/
ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา: นิทรรศการเสมือนจริง. (2564). SciPlanet. https://sciplanet.org/content/ 8198
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร: พิพิธภัณฑ์เสมือนจริง. (2559). Bangkok National Museums Virtual Tour.
http://www.virtualmuseum.finearts.go.th/bangkoknationalmuseums/360/siwamok2016.html
Vergara, D., Rubio, M. P., & Lorenzo, M. (2017). On the design of virtual reality learning environments
in engineering. Multimodal Technologies and Interaction, 1(2), 1-12
จีระศักดิ์ นําประดิษฐ์ และสุธิดา ชัยชมชื่น. (2562). องคประกอบและขั้นตอนการพัฒนาระบบความจริงเสมือน
ทางด้านการศึกษา. วารสารศึกษาศาสตรมหาวิทยาลัยขอนแกน. 42(2): 1-18.
สุคนธ์ทิพย์ คำจันทร์, และประภาพร กุลลิ้มรัตน์ชัย. (2565). การประยุกต์ใช้User Interface (UI) และ User
Experience (UX) ในการออกแบบแพลตฟอร์ม. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี. 16(2): 63-77.
Vivek Philendra. (2021, August 13). A Beginner’s Guide to Video Games: Perspectives. https://www.
thesmujournal.ca/video-games/a-beginners-guide-to-video-games-perspectives
สุชาติ แสนพิช, พัฒนา ศิริกุลพิพัฒน์ และพิสิษฐ์ณัฐประเสริฐ. (2564). การพัฒนาแอปพลิเคชันพิพิธภัณฑ์เสมือน
ปฏิสัมพันธ์โดยใช้เทคโนโลยีสภาพแวดล้อมเสมือนในมุมมอง 360 องศา และการสแกนภาพสามมิติ: กรณีศึกษา
พิพิธภัณฑ์ของไทย. วารสารสารสนเทศศาสตร์. 38 (1): 42-57.
อภิชาติ เหล็กดี; ณัฐพงศ์ พลสยม; อุมาภรณ์ เหล็กดี. (2562). การส่งเสริมแหล่งท่องเที่ยวโบราณสถาน
ทางวัฒนธรรมโดยใช้เทคโนโลยีความเป็นจริงเสมือน. รายงานวิจัยทุนอุดหนุนจากสถาบันวิจัยและพัฒนา
มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
ชวลิต ดวงอุทา และ ตติยา เทพพิทักษ. (2566). ศึกษาแนวทางการออกแบบสภาพแวดลอมความเป็นจริงเสมือน.
วารสารวิชาการ ศิลปะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร. 14(1): 150-164.
Disney. (n.d.). What are the keyboard controls for the game?. https://appsupport.disney.com/
hc/en-us/articles/360000754226-What-are-the-keyboard-controls-for-the-game
BlueStacks. (n.d.). Game Controls. https://www.bluestacks.com/features/game-controls.html
บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: สุรีวิยาสาส์น.
กฤษชัย ตันหลงขจร. (2564). การพัฒนาพิพิธภัณฑ์เสมือนจริงเพื่อการเรียนรู้พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ราชบุรี.
การค้นคว้าอิสระศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสาร มรภ.กพ. วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร มรภ.กพ. วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี
ข้อคิดเห็นใดๆ ที่ปรากฎในวารสารเป็นวรรณกรรมของผู้เขียนโดยเฉพาะ ซึ่งมหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชรและบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย