การทําแพลตฟอร์มการแปลงค่าหน่วยพิกัดในงานสํารวจ

ผู้แต่ง

  • นรัญญา วัฒนใย สาขาวิชาวิศวกรรมโยธาและบริหารงานก่อสร้าง คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
  • แดน อุตรพงษ์ สาขาวิชาวิศวกรรมโยธาและบริหารงานก่อสร้าง คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
  • เสาวรส หะสิตะ สาขาวิชาวิศวกรรมโยธาและบริหารงานก่อสร้าง คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษ
  • ไชยนันท์ รัตนโชตินันท์ สาขาวิชาวิศวกรรมโยธาและบริหารงานก่อสร้าง คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
  • กฤช คำณูนธรรม สาขาวิชาวิศวกรรมโยธาและบริหารงานก่อสร้าง คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
  • มนพัทธ์ สาสิงห์ สาขาวิชาวิศวกรรมโยธาและบริหารงานก่อสร้าง คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
  • จรัล รัตนโชตินันท์ สาขาวิชาวิศวกรรมโยธาและบริหารงานก่อสร้าง คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
  • จุฬาวัลย์ นนตะพันธ์ นักวิจัยอิสระ
  • กิตติชัย รัตนโชตินันท์ นักวิจัยอิสระ

คำสำคัญ:

การหาค่าพิกัด, แพลตฟอร์มการหาค่าพิกัดในงานสำรวจ, Google Map, Google Earth

บทคัดย่อ

การแปลงค่าพิกัดด้วยโปรแกรม Google Map หรือ Google Earth มักจะเกิดปัญหาเนื่องจากค่าพิกัดที่ใช้ในแต่ละโปรแกรมมีค่าไม่เท่ากัน ทำให้ในบางครั้งจำเป็นต้องทำการแปลงค่าพิกัดก่อนที่จะนำเอาไปใช้ แต่ทั้งนี้ปัญหาในการแปลงค่าพิกัดโดยทั่วไปนั้นสามารถทำได้เพียงครั้งละหนึ่งค่า การพัฒนาแพลตฟอร์มเพื่อหาค่าพิกัดทีละหลาย ๆ ค่าพร้อมกันโดยมีการประยุกต์นำโปรแกรม Microsoft Excel มาใช้ในการเรียนเพื่อเป็นการพัฒนาศักยภาพทางด้านการศึกษา ดังนั้นการวิจัยนี้เป็นการศึกษาข้อมูลจากการทำแพลตฟอร์มการหาค่าพิกัดในงานสำรวจเพื่อหาค่าพิกัดและความละเอียดของตำแหน่งที่ได้จากแพลตฟอร์มนี้ เมื่อคำนวณหาค่าพิกัดแล้วจากการหาพื้นที่ทั้ง 3 พื้นที่ นำผลที่ได้มาเปรียบเทียบค่าพิกัดกัน โดยยึดการทำการสำรวจด้วย Google Map และ Google Earth  เพื่อคิดหาเป็นเปอร์เซ็นต์ความคลาดเคลื่อน พบว่าค่าความคลาดเคลื่อนอยู่ที่ประมาณ 0.0015-0.0016 % จึงสามารถนำข้อสรุปไปประยุกต์ใช้งานกับการสำรวจได้เหมาะสมมากขึ้น

References

กรมแผนที่ทหาร. (ม.ป.ป) การอ่านแผนที่และรูปถ่ายทางอากาศ. กรมชลประทาน.

กลุ่มงานสารสนเทศและพยากรณ์น้ำ. (ม.ป.ป). โปรแกรมแปลงค่าพิกัด. สารสนเทศอุทกวิทยา. http://water.rid.go.th/hyd/ Coordinate/coordinate_convert.html

นรินทร์ จรูญรัตนพักตร์ และ กฤติณ สุดโต. (2563). คู่มือการใช้ Google Earth Pro สำหรับการวางแปลงตัวอย่างถาวร. https://www.nstda.or.th/ library/opac/Book/49476?c=1607592679

ปราณี สุนทรศิริ. (2543). การรังวัดแผนที่ภูมิประเทศ. คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รัศมี สุวรรณวีระกำธร. (2557). ระบบพิกัดและการอ่านแผนที่ภูมิประเทศ. เอกสารประกอบการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “เทคโนโลยี

ภูมิสารสนเทศขั้นต้น” รุ่นที่ 3. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

สุวัฒนา วัจฉลพงษ์, เจษฎาภรณ สุภายะ, นิติธร บูรณะ และ บริภุต ฉัตรแกว. (ม.ป.ป) คู่มือการใช้งานเบื้องต้นโปรแกรม Google earth.สำนักงานจัดรูปที่ดินจังหวัดพิจิตร.

Cartrack. (ม.ป.ป). พิกัด UTM คือ อะไร?. https://www.cartrack.co.th/blog/phikad-utm-khuue-aair

http://kmcenter.rid.go.th/kmc14/gis_km14/ gis_km14(31).pdf

Prosoft GPS. (ม.ป.ป). ละติจูด, ลองจิจูด กับการบอกพิกัดทางภูมิศาสตร์. https://www.prosoftgps.com/Article/Detail/72143

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-12-08