การพัฒนาระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์สำหรับ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

ผู้แต่ง

  • ศุภชัย ทองสุข มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

คำสำคัญ:

ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์, การจัดการเอกสาร, มหาวิทยาลัย

บทคัดย่อ

ปัจจุบันการจัดการเอกสารในหลายองค์กรมีการใช้ระบบกระดาษเป็นหลัก ซึ่งทำให้เกิดปัญหาการสูญหายและความล่าช้าในการค้นหาข้อมูล โดยเฉพาะอย่างในระบบสารบรรณซึ่งต้องมีประสานงาน การจัดเก็บและเรียกค้นเอกสาร เพื่อเพิ่มความสะดวกและรวดเร็วในระบบงานสารบรรณ งานวิจัยนี้จึงวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์สำหรับคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ โดยมีการศึกษาระบบงานเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล และนำมาพัฒนาระบบให้ตรงตามความต้องการของผู้ใช้ ซึ่งผลการวิจัยนี้ชี้ให้เห็นถึงประสิทธิภาพของระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ที่พัฒนาขึ้น มีความเหมาะสมและสามารถตอบสนองความต้องการของบุคลากรใน คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษได้เป็นอย่างดี โดยมีผลการประเมินประสิทธิภาพในการใช้งานระบบโดยผู้เชี่ยวชาญอยู่ในระดับมาก ( = 4.35, S.D. = 0.56) และระดับความพึงพอใจของผู้ใช้งานต่อระบบโดยรวมอยู่ในระดับมาก ( = 4.40, S.D. = 0.52)

References

ชาญชัย อาจินสมาจาร. (2561). การจัดการสำนักงาน. ซีเอ็ดยูเคชั่น.

อัมพร จิรัฐติกร. (2559). การจัดการงานธุรการ. วิทยพัฒน์.

พงศ์นุวัฒน์ เมืองสุวรรณ. (2561). การพัฒนาระบบเว็บแอพพลิเคชั่นสำหรับงานธุรการภายในวิทยาลัยพัฒนาเศรษฐกิจและเทคโนโลยีชุมชนแห่งเอเชีย, สืบค้นเมื่อ 1 พฤษภาคม 2567, จาก https://www.ird .cmru.ac.th/ris/research_view/943-60-ADIC-NRCT

ชัชรัตน์ สีน้ำเงิน. (2555). การออกแบบและพัฒนาระบบติดตามดำเนินงานการรับ - ส่งหนังสือราชการ กรณีศึกษา กองการเจ้าหน้าที่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, สืบค้นเมื่อ 1 พฤษภาคม 2567, จาก https://libdoc. dpu.ac.th/thesis/146155.pdf

เพ็ญศรี อังควิชัย, (2549), การออกแบบและพัฒนาระบบสารสนเทศระดับภาควิชาสำหรับงานด้านการพัฒนาและประเมินทรัพยากรมนุษย์ (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย). CUIR. https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56906.

นาถตยา ขุนทอง, ปราลี มณีรัตน์, และ ศุภฤกษ์ ชูธงชัย. (2561). การพัฒนาระบบสารสนเทศด้านการบริหารจัดการงานซ่อมระบบเครือข่ายและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ด้วยบูทสแตรป ฟอนท์เอ็น เฟรมเวิร์ค. วารสารวิชาการซาย์เทศ มรภ.ภูเก็ต, 2(1), 19–25.

บุญชม ศรีสะอาด. (2560). การวิจัยเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 10). สุวีริยาสาส์น.

โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์. (2554). ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ. ซีเอ็ดยูเคชั่น.

เกวลี เฉิดดิลก, (2563), การพัฒนาระบบจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์สำหรับงานสารบรรณ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง, 2(3), 53–66.

พงษ์ศักดิ์ ดรพินิจ, และ จตุรงค์ จิตติยพล, (2565), การพัฒนาระบบจัดเก็บเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มโรงเรียนซําสูง สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่นเขต 4, วารสารสหวิทยาการวิจัยและวิชาการ, 2(4), 447-462.

เผยแพร่แล้ว

2024-12-23

How to Cite

[1]
ทองสุข ศ., “การพัฒนาระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์สำหรับ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ”, JSciTech, ปี 8, ฉบับที่ 3, ธ.ค. 2024.