ผลของแป้งและความร้อนต่อคุณลักษณะและสมบัติของถ่านอัดแท่ง

ผู้แต่ง

  • วิริยะ แดงทน สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น
  • อารยันต์ วงษ์นิยม สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น
  • กัณตภณ เปรมประยูร สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น
  • วีรยุทธ จี้เพชร สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น
  • สุกัญญา ทองโยธี สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น

DOI:

https://doi.org/10.14456/jeit.2023.1

คำสำคัญ:

ถ่าน, ถ่านอัดแท่ง, ความร้อน

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มุ่งเน้นศึกษาผลของแป้งและความร้อนต่อคุณลักษณะและสมบัติของถ่านอัดแท่ง โดยศึกษาการอัดถ่านแท่งในเครื่องแบบเกลียว กรณีผสมแป้งใช้อัตราส่วน 1:1 สำหรับกรณีให้ความร้อนกระบอกอัดถ่าน คือ 200 องศาเซลเซียส ผลการวิจัย พบว่า กรณีผสมแป้งและให้ความร้อนกับกระบอกถ่านอัดแท่งส่งผลให้ผิวถ่านเรียบเนียนเป็นมันวาวและไม่แตกร้าว มีค่าความร้อนสูง 27 เมกะจูลต่อกิโลกรัม และความชื้นค่อนข้างต่ำร้อยละ 10.9 โดยน้ำหนัก แต่หากต้องการลดความชื้นและเพิ่มค่าความร้อนให้กับถ่านอัดแท่งมากกว่านี้ควรเลือกกรณีไม่ผสมแป้งและให้ความร้อน เพราะมีความชื้นต่ำสุดร้อยละ 8.9 โดยน้ำหนัก และค่าความร้อนสูงสุด 28.4 เมกะจูลต่อกิโลกรัม อย่างไรก็ตามกรณีไม่ผสมแป้งถ่านจะไม่เรียบเท่ากรณีผสมแป้ง

References

[1] K. Homchat and S. Ramphueiphad, "The continuous carbonisation of rice husk on the gasifier for high yield charcoal production," Results in Engineering, vol. 15, p. 100495, 2022.

[2] J. O. Ighalo, O. A. A. Eletta and A. G. Adeniyi, "Biomass carbonisation in retort kilns: Process techniques, product quality and future perspectives," Bioresource Technology Reports, vol. 17, p. 100934, 2022.

[3] ดวงกมล ดังโพนทอง และ วสันต์ ปินะเต, "การส่งเสริมการผลิตถ่านอัดแท่งจากเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรเพื่อใช้ประโยชน์ในชุมชนระดับครัวเรือนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง," มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 2557.

[4] วีรชัย อาจหาญ, "การพัฒนาเครื่องอัดแท่งชีวมวลสำหรับใช้ผลิตถ่านชีวภาพ," มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี, 2547.

[5] ปัญญา วงศ์ต่าย และ คมสัน มุ่ยสี, "การพัฒนาเครื่องคัดแยกผลไม้ต้นแบบสำหรับชุมชนเกษตรกรรมในจังหวัดจันทบุรี," รายงานโครงการวิจัย, มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี, 2564.

[6] สหรัตน์ วงษ์ศรีษะ และ สิงห์แก้ว ป๊อกเทิ่ง, "การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ถ่านอัดแท่งจากวัสดุเหลือใช้ เพื่อทดแทนถ่านจากไม้," มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร, 2549.

[7] วานิช โสพาสพ, บุญยิ่ง อินทรบุตร และ สมพล พวงดอกไม้, "การผลิตถ่านอัดแท่งด้วยเศษวัสดุเหลือใช้เพื่อเป็นเชื้อเพลิงพลังงานทดแทน," มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2550.

[8] ตุลย์ทิตย์ กัลยา, "การพัฒนาเครื่องต้นแบบเพื่ออัดถ่านหินแบบก้อนโดยใช้การหมุนอัดเพลาคู่," มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2550.

[9] K. Duanguppama, N. Pannucharoenwong, S. Echaroj, C. Turakarn, K. Chaiphet and P. Rattanadecho, "Processing of Leucaena Leucocepphala for renewable energy with catalytic fast pyrolysis," Energy Reports, vol. 8, pp. 466-479, 2022.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

29-04-2023

How to Cite

[1]
แดงทน ว., วงษ์นิยม อ., เปรมประยูร ก., จี้เพชร ว., และ ทองโยธี ส., “ผลของแป้งและความร้อนต่อคุณลักษณะและสมบัติของถ่านอัดแท่ง”, JEIT, ปี 1, ฉบับที่ 2, น. 1–7, เม.ย. 2023.