การประเมินโครงการพัฒนากิจกรรม GREEN AND CLEAN (5 ส) โรงเรียนผินสหราษฎร์พัฒนา
คำสำคัญ:
ประเมินโครงการ , กิจกรรม GREEN AND CLEAN (5 ส)บทคัดย่อ
การประเมินโครงการพัฒนากิจกรรม GREEN AND CLEAN (5 ส) โรงเรียนผินสหราษฎร์พัฒนา ครั้งนี้ ผู้ประเมิน ได้ดำเนินการสรุปผลการประเมิน ดังนี้ วัตถุประสงค์ของการประเมิน 1. เพื่อประเมินบริบทของโครงการ เกี่ยวกับความต้องการจำเป็น ความสอดคล้อง และความเหมาะสม ของวัตถุประสงค์ของโครงการ 2. เพื่อประเมินปัจจัยนำเข้าของโครงการ เกี่ยวกับความพร้อมของผู้รับผิดชอบโครงการ ความพร้อมของอาคารสถานที่ ความเพียงพอของงบประมาณ และความเหมาะสมของปัจจัยที่ใช้ ในการดำเนินงาน 3. เพื่อประเมินกระบวนการของโครงการ เกี่ยวกับการมีส่วนร่วมในการวางแผน การมีส่วนร่วมในการพัฒนา การมีส่วนร่วมในการใช้กิจกรรม GREEN AND CLEAN (5 ส) ของนักเรียน ครู และการนิเทศ กำกับ ติดตามโครงการ 4. เพื่อประเมินผลผลิตของโครงการ และความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องที่มีต่อโครงการ กลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการประเมินครั้งนี้ จำนวนทั้งสิ้น 278 คน ประกอบด้วย ครู จำนวน 22 คน นักเรียน จำนวน 128 คน และผู้ปกครองและคณกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 128 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การหาค่าความสอดคล้องของเนื้อหา (IOC) การหาค่าความเชื่อมั่น () สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การหาค่าร้อยละ (%) การหาค่าเฉลี่ย (, ) การหาค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D., ) และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis)
References
ชลธิชา แพ่งบรรเทา (2557) การประเมินโครงการแข่งขันความเป็นเลิศทางวิชาการ โรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิจัยและประเมินผลการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
ชนิศา จิระเดชประไพ (2557) การประเมินโครงการพัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากำแพงเพชร เขต 2 ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฎกำแพงเพชร
เพ็ญจันทร์ บัวซาว (2557) การปฏิบัติกิจกรรม 5 ส และการเสริมสร้างความปลอดภัยในการทำงานของพนักงาน บริษัท คอมพาร์ท พรีซิชั่น (ประเทศไทย) จำกัด วารสารชุมชนวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 (2015): ตุลาคม 2557 - มีนาคม 2558
พิสณุ ฟองศรี. (2550). เทคนิควิธีประเมินโครงการ. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ : พรอพเพอร์ตี้พริ้นท์.
พุฒิเมธ พวงจันทึก (2554) การประเมินโครงการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนโรงเรียนน้ำขุ่นวิทยา จังหวัดอุบลราชธานี ถ่ายเอกสาร.
เยาวดี รางชัยกุล วิบูลย์ศรี. ( 2546). การประเมินโครงการแนวคิดและปฏิบัติ. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรมหาวิทยาลัย.
รัตนะ บัวสนธ์ (2554) การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2. นครสวรรค์ : หจก.ริมปิงการพิมพ์.
วิเขียร ชุติมาสกุล ( 2560) รายงานการประเมินโครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข โรงเรียนชิโนรสวิทยาลัย ผลงานวิชาการ สำนักงานเขตพ้นืที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
วัชรากร ศุภกาญจนรุจิ (2558 การประเมินโครงการจัดทำระบบสารสนเทศการบริหารทรัพยากรบุคคล ระดับกรม (DPIS) : กรณีศึกษากรมทางหลวง รัฐศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารจัดการสาธารณะ) สาขาวิชาการบริหารจัดการสาธารณะ สำหรับนักบริหาร คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สุภัฒ แสงจันทร์. (2550). การประเมินโครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดกระบวนการเรียนรู้สู่คุณภาพผู้เรียนโรงเรียนวัดโลกา. ถ่ายเอกสาร.
สำราญ มีแจ้ง (2558) การประเมินโครงการทางการศึกษา : ทฤษฎีและปฏิบัติ มหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณุโลก.
อนันต์ นามทรงต้น (2557) การประเมินโครงการทางการศึกษา : ปฏิบัติจริง. นนทบุรี: สหมิตรพริ้นติ้ง. แอนด์พับลิสซิ่ง จำกัด, 2557
Good, Carter V. 1973. Dictionary of Education. New York : McGraw-Hill Book Company.
Kotler, Philip. (2003) Marketing Management. New Jersey: Prentice Hall.
Krejcie, R.V. & Morgan, D.W. (1970). Determining sample size for research activities. Educational and psychological measurement, 30(3): 608.
Luthans, F. (1995). Organizational Behavior. (4th ed). New York: McGraw - Hill. Millett, J.D. (1954). Management in Public Service. New York: McGraw - Hill.
Stufflebeam, D.L. (2004). The 21st century CIPP Model. In Alkin, M.C. (Ed.), Evaluation roots: Tracing theorists’ views and influences. London: SAGE.
Weihrich Heinz and Harold Koontz. (1993). Management: a global perspective. New York : McGraw-Hill.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสาร มรภ.กพ. วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร มรภ.กพ. วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี
ข้อคิดเห็นใดๆ ที่ปรากฎในวารสารเป็นวรรณกรรมของผู้เขียนโดยเฉพาะ ซึ่งมหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชรและบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย