ชีววิทยาบางประการของเอื้องเขาแกะ (วงศ์กล้วยไม้) ในอุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร
คำสำคัญ:
เอื้องเขาแกะ, ชีววิทยา, การกระจายตัว, อุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชรบทคัดย่อ
การศึกษาชีววิทยาบางประการของกล้วยไม้เอื้องเขาแกะที่พบในพื้นที่อุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร เขตอรัญญิก ขนาดพื้นที่ 2.57 ตารางกิโลเมตร เป็นระยะเวลา 16 เดือน โดยรวบรวมข้อมูลทางชีววิทยาบางประการ เช่น ลักษณะทางสัณฐาน การกระจายตัว พืชให้อาศัย และสังเกตแมลงผสมเกสรของเอื้องเขาแกะ พบประชากรเอื้องเขาแกะทั้งหมด 5,300 ต้น มีการกระจายตัวแบบกลุ่มในพื้นที่ศึกษา พืชให้อาศัยมีจำนวน 406 ต้น เอื้องเขาแกะมีการติดฝักเพียง 123 ต้น คิดเป็น 1\% จากประชากรของเอื้องเขาแกะทั้งหมด 5,300 ต้น และจากการเฝ้าสังเกตเป็นเวลา 190 ชั่วโมง ไม่พบแมลงผสมเกสร
References
กรมศิลปากร (2563). อุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร. ออนไลน์ เข้าถึงโดย https://shorturl.asia/UncHV
กมลทิพย์ ประเทศ, วัลลภา เหลืองภักดี, พรฑิพย์ภา สุกอง, อรษา อภิรมย์วิไลชัย และ อรุณพร จงอ่อนกลาง. (2543). การสำรวจพรรณไม้ในอุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร จังหวัดกำแพงเพชร. การศึกษาด้วยตนเอง กศ.ม. (วิทยาศาสตร์ศึกษา) มหาวิทยาลัยนเรศวร. 441 หน้า.
ธนากร วงษศา, ภูริต นิธิภัทรโกศล และ อนุพันธ์ กงบังเกิด. (2560). การศึกษาเบื้องต้นของชีววิทยาการสืบพันธุ์ของเอื้องหอมเตย (textit{Habenaria lucida} Wall. ex Lindl.) ใน รายงานสืบเนื่องการประชุมพฤกษศาสตร์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 11, (น. 202-208). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหิดล.
นพชัย คำเหมย. (2562). การศึกษานิเวศวิทยาบางประการของกล้วยไม้เอื้องเขาแกะในอุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร. ปริญญานิพนธ์ระดับปริญญาตรี (ชีววิทยา) มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร. 65 หน้า.
อนุพันธ์ กงบังเกิด, วัชรศักดิ์ มาเกิด, อุบลวรรณ บุญฉ่ำ, เชิดศักดิ์ ทัพใหญ่, ธนากร วงษศา, อดิศักดิ์ ทิพโชติ, ธีรภัทร เหลืองศุภบูลย์ และ กำธร ทวีรัพย์ (2556). การสำรวจและอนุกรมวิธานของกล้วยไม้ บริเวณอุทยานแห่งชาติแม่วงก์ จังหวัดกำแพงเพชร. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์. ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร และกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช.
หน่วยข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. (2558). สมุนไพรในอุทยานแห่งชาติแม่วงก์. พิษณุโลก: โรงพิมพ์สุรสีห์ กราฟฟิค, 81 หน้า.
อนุพันธ์ กงบังเกิด, กนกอร ศรีม่วง และ สันติ วัฒฐานะ. (2554). ชีววิทยาและการขยายพันธุ์กล้วยไม้น้ำ textit{Epipactis flava} Seidenf. ในหลอดทดลองเพื่อการอนุรักษ์และผลิตต้นพันธุ์. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์. ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.
อนุพันธ์ กงบังเกิด, กนกอร ศรีม่วง และ สันติ วัฒฐานะ. (2554). ชีววิทยาและการขยายพันธุ์กล้วยไม้สิงโตธานีนิวัตเพื่อการอนุรักษ์. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์. ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.
พีราดา แก้วทองประคำ, ทิพย์สุดา ตั้งตระกูล, ปฏิภาณ สุทธิกุลบุตร และ อดิศักดิ์ การพึ่งตน. (2562). ปัจจัยสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของกล้วยไม้ดินนกคุ้มไฟ หมู่บ้านปงไคร้ ตำบลโป่งแยง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย, 1(11), 181-196.
นิรนาม (ม.ป.ป.) เข้าถึงจาก: https://www.suikofriend.com/blog2/kamphaeng/kamphaeng-map.jpg.
เต็ม สมิตินันทน์. (2557). ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย. สำนักงานหอพรรณไม้. (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2557). กรุงเทพฯ: สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช. 806 หน้า.
กิตติชัย นุชชม. (2547). พรรณไม้ในป่าเต็งรัง. ศูนย์วนวัฒนวิจัยกำแพงเพชร. สำนักบริหารจัดการในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ 6 (นครสวรรค์). กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช. 77 หน้า.
เทียมหทัย ชูพันธ์, จิรประภา ทองสุขแก้ง และ ธนา ดานะ. (2558). ความหลากหลายของชนิดและนิเวศวิทยาของกล้วยไม้ในอุทยานแหงชาติภูแลนคำ จังหวัดชัยภูมิ. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา, 37(5), 613-618.
ปัญญา สุขสมกิจ และ ดวงใจ ศุขเฉลิม. (2551). Hosts ของกล้วยไม้อิงอาศัยในป่าดิบเขาบริเวณเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง จังหวัดอุทัยธานี. วารสารวิจัยพืชเขตร้อน, 1, 83-92.
รัฐวิทย์ สราวุธวินัย, พัฒน ทวีโภค, ครรชิต ธรรมศิริ และ สันติ วัฒฐานะ (2556). รูปแบบการสืบพันธุ์ของกล้วยไม้เฉพาะถิ่นของภาคใต้ของไทย Corybas ecarinatus Anker & Seidenfaden. ใน การประชุมหาดใหญ่วิชาการ ครั้งที่ 4 (น. 25-31) วันที่ 10 พฤษภาคม 2556, สงขลา: มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.
Buragohain, B., Chaturvedi, S.K. & Puro, N. (2015). Biotic pollination in textit{Rhynchostylis retusa} (L.) Bl. (Orchidaceae). The International Journal of Plant Reproductive Biology, 7(1),78-83.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร มรภ.กพ. วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี
ข้อคิดเห็นใดๆ ที่ปรากฎในวารสารเป็นวรรณกรรมของผู้เขียนโดยเฉพาะ ซึ่งมหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชรและบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย