การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานหุ่นยนต์เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดเชิงคำนวณสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
คำสำคัญ:
ทักษะการคิดเชิงคำนวณ, การเรียนรู้แบบโครงงาน, หุ่นยนต์บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานหุ่นยนต์เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดเชิงคำนวณสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 2) รับรองรูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานหุ่นยนต์เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดเชิงคำนวณสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ดำเนินการโดยใช้กระบวนการวิจัยและพัฒนา โดยแหล่งข้อมูลได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญ 5 คน การดำเนินการวิจัยมี 2 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นที่ 1 การสร้างรูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานหุ่นยนต์เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดเชิงคำนวณสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ขั้นที่ 2 รับรองรูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานหุ่นยนต์เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดเชิงคำนวณสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้น เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ แบบประเมินรับรองรูปแบบ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานหุ่นนยนต์ฯประกอบไปด้วย 5 องค์ประกอบได้แก่ 1) หลักการ 2) วัตถุประสงค์ 3) เนื้อหา 4) กระบวนการจัดการเรียนรู้ และ 5) การวัดประเมินผล โดยใช้ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน 4 ขั้นตอนได้แก่ นำเสนอประเด็นปัญหาโครงงานหุ่นยนต์ วางแผนการพัฒนาโครงงานหุ่นยนต์ ลงมือปฏิบัติจากสถานการณ์จริง ประเมินผลและทบทวน ผลการประเมินรับรองรูปแบบการจัดการเรียนรู้มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด (=4.64; S.D.=0.40)
References
Gonzalez, M. (2015, July, 6-8). COMPUTATIONAL THINKING:DESIGN GUIDELINES AND CONTENT VALIDATION. In Proceedings of EDULEARN15. Spain: Barcelona.
Wing, J. M. (2006). Computational thinking. Communications of the ACM, 49(3), 33-35.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2559). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559). สืบค้น 20 สิงหาคม 2558 จาก http://www2.oae.go.th/EVA/download/Plan/SummaryPlan11_thai.pdf
รุจโรจน์ แก้วอุไร, สุพรรษา น้อยนคร. (2564). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ผังก้างปลาร่วมกับเฟสบุ๊กเพื่อพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ปัญหาโครงงานของนิสิต.
พิมพันธ์ เดชะคุปต์, พเยาว์ ยินดีสุข, และราเชน มีศรี. (2551). การสอนคิดด้วยโครงงาน: การเรียนการสอน แบบบูรณาการ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศศิโสภิต แพงศรี. (2561). การสอนแบบโครงงานเป็นฐาน: การประยุกต์สู่การปฏิบัติในการจัดการศึกษาพยาบาล. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า
จันทบุรี, 29(1), 215-222.
Chen, G. H. (2017). Assessing elementary students’ computational thinking in everyday reasoning and robotics programming. Journal of Educational Computing Research, 55(7), 924-947.
Bers, M. U. (2010). The TangibleK robotics program: Applied computational thinking for young children. Journal of Educational Technology & Society, 13(3), 203-215.
สุปรีย์ บูรณะกนิษฐ. (2556). ผลการใช้เทคโนโลยีเสริมศักยภาพที่แตกต่างกันในการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานที่มีต่อความสามารถในการคิดวิเคราะห์และการแก้ปัญหาในการโปรแกรมหุ่นยนต์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต). กรุงเทพ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศศิธร ชูแก้ว. (2560). การพัฒนารูปแบบการสอนแบบบูรณาการโดยใช้หุ่นยนต์เป็นฐานในการพัฒนาทักษะการคิดเชิงประมวลผลของผู้เรียนภายใต้แนวทาง
การจัดการศึกษาแบบ STEM. (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
Joyce, B. R., & Weil, M. (1996). Models of teaching (6th ed.). Allyn and Bacon.
Gonzalez, M., & Perez-Munoz, A. (2018). Development of Computational Thinking Skills through Unplugged Activities in Primary School. Education Sciences, 8(1), 17.
Felicia, A. (2017). Computational Thinking and Tinkering: Exploration Study of Primary School Students’ in Robotic and Graphical Programming. International Journal of Assessment and Evaluation in Education, 7, 44-54.
Constantinou, V. (2018). Develop computational thinking skills Through Education Robotics. Andri Ioannou; Published in EC-TEL
Grover, S. (2011, April 7-11). Robotics for Middle and Hight School Student to Develop Computational Thinking. In Annual Meeting of the American Education Research Association New Orleans. N.P.: n.p.
Swaid, S. (2015). Bringing Computational Thinking to STEM Education. Procedia Manufacturing
Lockwood, J. (2017). A pilot study investigating the introduction of a computer-science course at second level focused on
computational thinking. Irish Educational Studies, 36(2), 183-201.
Ling, U. L., Saibin, T. C., Naharu, N., Labadin, J., & Aziz, N. A. (2018). An Evaluation Tool to Measure Computational Thinking Skills:
Pilot Investigation. Herald NAMSCA, 1, 606-614.
Wing, J. M. (2012). Computational thinking. Keynote presented at the Microsoft Research Asia Faculty Summit 2012. Retrieved
August 30, 2016, from https://www.microsoft.com/en-us/research/wpcontent/uploads/ 2012/08/Jeannette_Wing.pdf
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2545). แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2545-2559).กรุงเทพฯ: พริกหวานการพิมพ์.
สุพรรษา น้อยนคร, รุจโรจน์ แก้วอุไร, นฤมล รอดเนียม. (2561). การส่งเสริมการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ด้วยการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงานเป็นฐาน
บูรณาการกับเฟสบุ๊ก วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 1 มกราคม. – มีนาคม 2562.
อพัชชา ช้างชวัญยืน, รุจโรจน์ แก้วอุไร, วิจัย วงษ์ไทย และ เอื้อมพร หลินเจริญ. (2564). การจัดการเรียนรู้เชิงลึกเพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองดิจิทัล.
วารสารศึกษาศาตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. ปีที่ 23 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2564.
ทวีสิน อำนวยพันธ์วิไล, พิชญาภา ยวงสร้อย, รุจโรจน์ แก้วอุไร และ กิตติพงษ์ พุ่มพวง. (2565). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้บนระบบคลาวด์ด้วยการเรียนรู้แบบร่วมมือรวมพลังร่วมกับการคิดเชิงวิพากษ์เพื่อส่งเสริมการรู้เท่าทันสื่อดิจิทัลสำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาวารสารสักทอง:มนุษศาสตร์สังคมศาสตร์. กรกฎาคม-กันยายน 2565. 81-94.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสาร มรภ.กพ. วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร มรภ.กพ. วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี
ข้อคิดเห็นใดๆ ที่ปรากฎในวารสารเป็นวรรณกรรมของผู้เขียนโดยเฉพาะ ซึ่งมหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชรและบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย