ความชุกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะอ้วนลงพุงของประชาชนในตำบลพรานกระต่าย อำเภอพรานกระต่าย จังหวัดกำแพงเพชร

ผู้แต่ง

  • จุฑาทิพย์ ลมูล
  • วณิชชา คันธสร ผู้ประพันธ์บรรณกิจ

คำสำคัญ:

ความชุก, การรับรู้ความสามารถของตนเอง, ภาวะอ้วนลงพุง

บทคัดย่อ

           ภาวะอ้วนเป็นภัยเงียบที่มีสาเหตุปัญหาจากการมีไขมันสะสมในช่องท้องหรืออวัยวะในช่องท้องมากเกินไป ส่งผลทำให้เสี่ยงอันตรายต่อการเจ็บป่วยหลายโรคตามมา การวิจัยเชิงสำรวจครั้งนี้ (Observational Descriptive Study) มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจความชุกและปัจจัยของภาวะอ้วนลงพุงของประชาชนในตำบลพรานกระต่าย อำเภอพรานกระต่าย จังหวัดกำแพงเพชร ศึกษากับกลุ่มตัวอย่างจำนวน 218 คน สุ่มเลือกตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน หรือ Multi-stage sampling จากประชากร 13 หมู่บ้านจำนวน 9,005 คน และเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสำรวจผ่านแบบสอบถาม (Questionnaire) วิเคราะห์ข้อมูลและรายงานผลด้วยสถิติพรรณนา

           /ผลวิจัยพบความชุกของผู้ที่มีภาวะอ้วน…

References

World Health Organization. (2016). Key facts in situation of Obesity and overweight. [ออนไลน์]. เข้าถึง https://www.who.int/news-room/fact-sheets/detail/obesity-and-overweight

กองโรคไม่ติดต่อกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข (2563). รายงานสถานการณ์โรค NCDs เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง พ.ศ. 2562. พิมพ์ครั้งที่ 1 (พฤษภาคม 2563). สำนักพิมพ์อักษรกราฟฟิคแอนด์ดีไซน์.

ปวีณา ประเสริฐจิตรและคณะ. (2563). วิถีชีวิตคนเมืองวัยทำงานที่มีผลต่อภาวะอ้วนลงพุง: กรณีศึกษาบุคลากรคณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล.วชิรเวชสารและวารสารเวชศาสตร์เขตเมือง, 64(1), (ม.ค.- ก.พ.), 71-84.

กนกนันท์ สมนึกและคณะ. (2563). ความชุกและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อภาวะอ้วนลงพุงในบุคลากรโรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช.วชิรเวชสารและวารสารเวชศาสตร์เขตเมือง, 65(1), (ม.ค.- ก.พ.), 27-36.

วรรณี นิธิยานันท์. (2554).อ้วนและอ้วนลงพุง. เครือข่ายคนไทยไร้พุง ราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทย. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร:บริษัทสุขุมวิทมีเดีย มาร์เก็ตติ้งจำกัด.

Aizawa, K., et al. (2009). Metabolic syndrome, endothelial function, and lifestyle modification. Diabetes and Vascular Disease Research, 6(3), 181-189.

พัสตราภรณ์ แย้มเม่นและรุจิรา ดวงสงค์. (2555). ผลของโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพโดยประยุกต์ใช้แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ ร่วมกับแรงสนับสนุนทางสังคม ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อควบคุมน้ำหนักของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก.วารสารวิจัย มข. (บศ.), 12(1), (ม.ค. - มิ.ย.), 57-67.

เสาวนีย์ วรรละออและคณะ. (2555). แรงสนับสนุนจากครอบครัวตามการรับรู้ของผู้สูงอายุที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้.รามาธิบดีพยาบาลสาร, 18(3) (ก.ย.-ธ.ค.), 372-388.

สำนักสถิติแห่งชาติ. (2557).วัยทำงานกับการดูแลสุขภาพ. [ออนไลน์].เข้าถึงhttp://www.nso.go.th/sites/2014.

สิทธิกร ลินลาวรรณ. (2554). อุบัติการณและปัจจัยเสี่ยงของภาวะอวนลงพุงในบุคลากรโรงพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี. วารสารแพทย์ เขต 4-5. 30(2) (ก.ค.-ก.ย), 249-259.

พลอยฌญารินทร์ ราวินิจ. (2559). ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะอ้วนลงพุงในประชากรตำบลชะแมบ อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วิทยานิพนธ์สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ.

ปุญญพัฒน์ ไชยเมล์และสมเกียรติยศ วรเดช. (2558). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อภาวะอ้วนลงพุงในนิสิตมหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยเขตพัทลุง. วารสารสาธารณสุขมหาวิทยาลัยบูรพา. 10(2) (ก.ค.-ธ.ค), 55-65.

ชญานิศ เมฆอากาศและคณะ. (2561). ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะอ้วนลงพุงของอาสาสมัครประจำหมู่บ้านในจังหวัดสุโขทัย. วารสารการพยาบาลและสุขภาพ. 12(ฉบับพิเศษ) (ม.ค.-มี.ค), 47-57.

กลุ่มพัฒนานโยบายสาธารณะและสื่อสารความเสี่ยง กองโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2564). รู้ตัวเลข รู้ความเสี่ยงสุขภาพ (Know Your Numbers & Know Your Risks). พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร:สำนักพิมพ์อักษรกราฟฟิคแอนด์ดีไซน์.

ทัศพร สุดเสน่หา. (2556). ตัวแปรที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารของกลุ่มเสี่ยงโรคอ้วน ลงพุงกรณีศึกษา: โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไผ่งาม อำเภอโคกสูง จังหวัดสระแก้ว. วิทยานิพนธ์คหกรรมศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร, กรุงเทพฯ.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

09-09-2022