การประเมินมลพิษจากชุมชนในรูปของภาระบรรทุกสารอินทรีย์ จังหวัดปทุมธานี

ผู้แต่ง

  • อรทัย คังฆะมณี Faculty of Science and Technology, Thammasat University Rangsit campus
  • วนิดา ชูอักษร

บทคัดย่อ

การศึกษานี้มีวัตุประสงค์เพื่อประเมินภาระบรรทุกสารอินทรีย์จากแหล่งกำเนิดน้ำเสียประเภทชุมชนที่ปล่อยทิ้งลงแหล่งน้ำธรรมชาติ ในปีพ.ศ. 2563 และคาดการณ์ในปีพ.ศ. 2583 ของจังหวัดปทุมธานี ใช้วิธีการประเมินค่าความสกปรกในรูปของค่าความต้องการออกซิเจนทางชีวเคมี (บีโอดี) กรณีน้ำเสียไม่ผ่านระบบบบำบัดน้ำเสีย น้ำเสียผ่านระบบบำบัดน้ำเสีย และผ่านระบบบำบัดน้ำเสียมีน้ำทิ้งเป็นไปตามมาตรฐาน โดยใช้ข้อมูลการคาดการณ์จำนวนประชากร 20 ปี ผลการศึกษาพบว่า ปริมาณภาระบรรทุกสารอินทรีย์ในปีพ.ศ. 2563 เท่ากับ 52,085.35, 24,584.28 และ 4,166.83 กิโลกรัมต่อวัน ตามลำดับ และมีปริมาณเพิ่มขึ้นร้อยละ 15.64 ในปีพ.ศ. 2583 โดยมีค่าเท่ากับ 61,738.64, 29,140.64 และ 4,939.09 กิโลกรัมต่อวัน ตามลำดับ ซึ่งจากผลการศึกษาน้ำเสียที่ปล่อยจากแหล่งกำเนิดควรจะได้รับการบำบัดก่อน เพื่อลดมลพิษทั้งด้านปริมาณและความเข้มข้นของสารอินทรีย์ในน้ำทิ้ง และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถนำข้อมูลที่ได้จากการประเมินไปวางแผนเพื่อหาแนวทางและมาตรการการรองรับมลพิษทางน้ำที่จะเกิดขึ้นในอนาคตของจังหวัดปทุมธานีได้ต่อไป

References

การประปานครหลวง. (2558). ลุ่มน้ำเจ้าพระยา. สืบค้น 27 กุมภาพันธ์ 2564, จากhttps://www.mwa.co.th/ewt_news.php?nid=22198.

กรมควบคุมมลพิษ. (2564). รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย ปี 2563. กรุงเทพฯ: บริษัท สไตล์ครีเอทีฟเฮาส์ จำกัด.

กองบริหารจัดการคุณภาพน้ำ กรมควบคุมมลพิษ. (2559). จุดตรวจวัดคุณภาพน้ำ : แม่น้ำเจ้าพระยา. สืบค้น

ธันวาคม 2563, จาก https://www.pcd.go.th.

กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (2563). ราชกิจจานุเบกษาประเภท ง พิเศษ เล่ม 137 ตอน 261. สืบค้น 14 ธันวาคม 2563. จาก http://www.mratchakitcha.soc.go.th.

สำนักความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมทางน้ำ กรมเจ้าท่า. (2560). รายงานผลวิเคราะห์คุณภาพน้ำแม่น้ำเจ้าพระยา. สืบค้น 27 กุมภาพันธ์ 2564, จาก https://www.md.go.th/md/index.php

กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (2561). แหล่งกำเนิดน้ำเสียและ

มาตรฐานคุณภาพน้ำทิ้ง. สืบค้น 16 มกราคม 2564,

จาก http://pcd.go.th/info_serv/water_water.htm.

กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม. (2552). ภาระบรรทุกสารอินทรีย์ในรูปบีโอดี. สืบค้น 18 กุมภาพันธ์ 2564, จาก https://www.deqp.go.th/

วราภรณ์ ทนงศักดิ์. (2547). การประเมินภาระมลพิษในลุ่มน้ำแม่กลอง. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

เทอดพงศ์ ศรีสุขพันธุ์, อิสรี รอดทัศนา, สุชาดา ยางเอน, และกมลทพิย์ รัตนสุวรรณาชัย. (2558). ศักยภาพในการก่อกำเนิด ภาระมลพิษทางน้ำของท้องถิ่น จังหวัดฉะเชิงเทรา. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัย ระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 6 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา วันที่ 28 -29 เมษายน 2558. 1(6),272-283. จาก http://58.181.147.25/ojsjournal/index.php/5-

/issue/view/52

อิสรี รอดทัศนา, เทอดพงศ์ ศรีสุขพันธุ์, และสุชาดา ยางเอน. (2558). การประเมินภาระมลพิษทางน้ำในพื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทรา. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 6 มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนสุนันทา วันที่ 28 -29 เมษายน 2558. 1(6),671-683. จาก

http://58.181.147.25/ojsjournal/index.php/5-01/issue/view/52

สถาบันพัฒนาการชลประทาน กรมชลประทาน. (2558). คู่มือการปฏิบัติงานด้านบริหารจัดการน้ำ

เล่มที่ 8. สืบค้น 27 กุมภาพันธ์ 2564, จาก https://anyflip.com/bookcase/hucqc.

สุชาติ สถิตมั่นในธรรม. (2552). ภาคผนวก ง รายการคำนวณระบบบำบัดน้ำเสีย โครงการ

สมาร์ทคอนโดวัชรพล กรุงเทพมหานคร. สืบค้น 31 มีนาคม 2564, จาก http://eiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/53/53_8389/11.

สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดปทุมธานี. (2562). รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการส่งเสริมการจัดการน้ำเสียโดยชุมชน จังหวัดปทุมธานีประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561 (รายงานผลการวิจัย). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย. (ม.ป.ป.). มาตรฐานการวางผังเมือง. สืบค้นวันที่ 27 มีนาคม 2564, จาก http://www.dla.go.th/

นิชรัตติ์ ธงโบราณ. (2561). มลพิษทางน้ำ. สืบค้น 27 กุมภาพันธ์ 2564. จากhttps://sites.google.com/site/wichakarxnuraks/mlphis-na

เผยแพร่แล้ว

2023-07-22

How to Cite

[1]
คังฆะมณี อ. และ ชูอักษร ว., “การประเมินมลพิษจากชุมชนในรูปของภาระบรรทุกสารอินทรีย์ จังหวัดปทุมธานี”, JSciTech, ปี 7, ฉบับที่ 1, ก.ค. 2023.