การศึกษาสมบัติทางความร้อนของถ่านอัดแท่งจากเปลือกทุเรียนพันธุ์หมอนทอง

ผู้แต่ง

  • คมสัน มุ่ยสี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฎรำไพพรรณี จันทบุรี
  • กฤษณะ จันทสิทธิ์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฎรำไพพรรณี จันทบุรี

คำสำคัญ:

ถ่านอัดแท่ง, เปลือกทุเรียน, ค่าความร้อน

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้ศึกษาความสามารถในการนำเปลือกทุเรียนพันธุ์หมอนทองมาเป็นเชื้อเพลิงให้พลังงานความร้อนในรูปของถ่านอัดแท่งโดยใช้แป้งมันสำปะหลังเป็นตัวประสาน ขึ้นรูปถ่านด้วยวิธีอัดเย็น ผลการศึกษาพบว่า อัตราส่วนถ่านเปลือกทุเรียนพันธุ์หมอนทองกับแป้งมันสำปะหลังที่ 97:3 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก เมื่ออบแห้งแล้ว เป็นไปตามคุณลักษณะทั่วไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน จากการทดสอบพบว่าค่าปริมาณความชื้นร้อยละ 5.60 โดยน้ำหนัก ค่าปริมาณเถ้าร้อยละ 6.4 โดยน้ำหนัก และค่าความร้อน 5,735 แคลอรีต่อกรัม เป็นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนก าหนดค่าปริมาณความชื้นไม่เกินร้อยละ 8 โดยน้ำหนัก ค่าปริมาณเถ้าไม่เกินร้อยละ 8 โดยน้ำหนัก ค่าความร้อนไม่ต่ำกว่า 5,000 แคลอรีต่อกรัม จากผลการศึกษาพบว่าสามารถนำเปลือกทุเรียนพันธ์ หมอนทองมาผลิตถ่านอัดแท่งเพื่อใช้ประโยชน์ให้พลังงานความร้อนได้

Author Biographies

คมสัน มุ่ยสี, คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฎรำไพพรรณี จันทบุรี

สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล

กฤษณะ จันทสิทธิ์, คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฎรำไพพรรณี จันทบุรี

สาขาวิชาวิศวกรรมโลจิสติก

References

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. ข้อมูลเศรษฐกิจการเกษตร, 2562. สืบค้นจาก http://www.oae.go.th/view/1/ตารางแสดงรายละเอียดทุเรียน/TH-TH

วัฒนะจีระ ลดาวัลย์, ลาปัน ณรงค์ศักดิ์, ชัชวาลย์ วิภาวดี. et al. การพัฒนาก้อนเชื้อเพลิงชีวมวลจากเศษ

ฟางข้าวผสมเศษลำไยเหลือทิ้ง วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี,

, 39(2), หน้า 239-255.

นฤภัทร ตั้งมั่นคงวรกูล, พัชรี ปรีดาสุริยะชัย. การศึกษากากกาแฟและกากชามาใช้ประโยชน์ในรูปเชื้อเพลิงอัดแท่ง วารสารมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี), 2558, ป7(13), หน้า 15-26.

ฐิติพร เจาะจง, และโชติกา ยอดบุษดี. การใช้ประโยชน์ถ่านอัดแท่งจากเปลือกสับปะรด Rajabhat J. Sci. Humanit. Soc. Sci, 2561, 19(2), หน้า 280-286.

สุภาพร นางแย้ม, เสาวลักษณ์ ล าบอง, วราภรณ์ จังธนสมบัติ, กาญจนา อัจฉริยจิต. ประสิทธิภาพของเชื้อเพลิงอัดแท่งที่ผลิตจากต้นข้าวโพดและขี้เลื่อยไม้มะขามโดยใช้กาวแป้งเปียกเป็นตัวประสาน. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนาบุรี, 2560, 6(1),หน้า 85-94.

อัจฉรา อัศวรุจิกุลชัย, ชลันดา เสมสายัณห์, นัฐพร ประภักดี, ณัฐธิดา เปี่ยมสุวรรณศิริ, และ นิภาวรรณ ชูชาติ. การนำเปลือกทุเรียน และเปลือกมังคุดมาใช้ประโยชน์ในรูปเชื้อเพลิงอัดแท่ง. การประชุมทางวิชาการ ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 49, 2554, หน้า 162-168.

วิลาสินี หอมระรื่น, วิสาขา ภู่จินดา. แนวทางการใช้ประโยชน์จากเปลือกทุเรียนและเปลือกมังคุดเป็นเชื้อเพลิงเขียวอัดแท่งและปุ๋ย : กรณีศึกษาอำเภอแก่งหางแมว จังหวัดจันทบุรี วารสารดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์, 2562, 9(2), หน้า 452-466.

วรวรรณ สังแก้ว, การศึกษาเปรียบเทียบลักษณะคุณภาพต้นทุนการผลิตและความคิดเห็นของผู้ใช้ถ่านที่ผลิตจากเปลือกทุเรียนและเปลือกทุเรียนผสมผงถ่าน. เล่มวิจัยฉบับสมบูรณ์ สถาบันวิจัยและพัฒนา ม.ราชภัฏรำไพพรรณี, 2551.

สหรัตน์ วงษ์ศรีษะ และสิงห์แก้ว ป็อกเทิ่ง, การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ถ่านอัดแท่งจากวัสดุเหลือใช้เพื่อทดแทนถ่านจากไม้. เล่มโครงการวิจัยเทคโนโลยีทางการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครวิทยาเขตพระ นครเหนือ, 2549.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-08-17

How to Cite

[1]
มุ่ยสี ค. และ จันทสิทธิ์ ก., “การศึกษาสมบัติทางความร้อนของถ่านอัดแท่งจากเปลือกทุเรียนพันธุ์หมอนทอง”, JSciTech, ปี 5, น. 55–62, ส.ค. 2021.

ฉบับ

บท

บทความวิจัย