การพัฒนาสื่อดิจิทัลออนไลน์ ร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบนำตนเอง รายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสงวนหญิง จังหวัดสุพรรณบุรี

ผู้แต่ง

  • ปรัชญาภรณ์ แพนพันธุ์อ้วน -

คำสำคัญ:

สื่อดิจิทัล; การเรียนรู้แบบนำตนเอง; นักเรียน

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนาสื่อดิจิทัลออนไลน์ ร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบนำตนเอง รายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 2) เพื่อหาประสิทธิภาพของสื่อดิจิทัลออนไลน์ ร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบนำตนเอง รายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2  3) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ก่อนและหลังเรียนของผู้เรียนที่เรียนด้วยสื่อดิจิทัลออนไลน์ ร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบนำตนเอง รายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 และ 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนที่เรียนด้วยการพัฒนาสื่อดิจิทัลออนไลน์ ร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบนำตนเอง รายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสงวนหญิง จังหวัดสุพรรณบุรี กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสงวนหญิง จังหวัดสุพรรณบุรี จำนวน 30 คน โดยเลือกแบบเจาะจงเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) สื่อดิจิทัลออนไลน์ 2) แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t-test dependent

               ผลการวิจัยพบว่า 1) การพัฒนาสื่อดิจิทัลออนไลน์ ร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบนำตนเอง รายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีองค์ประกอบ ด้านเนื้อหาและด้านเทคนิค คุณภาพโดยรวมอยู่ระดับมากที่สุด ( = 4.63 , S.D = 0.49) 2) ประสิทธิภาพของสื่อดิจิทัลออนไลน์ ร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบนำตนเอง เท่ากับ 98.44/96.56 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด 70/70 3) ผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยสื่อดิจิทัลออนไลน์ที่พัฒนาขึ้นสูงกว่าก่อนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 และ 4) ผู้เรียนความพึงพอใจต่อสื่อดิจิทัลออนไลน์ที่พัฒนาขึ้นอยู่ในระดับมากที่สุด (  =4.83 , S.D. = 0.39)

References

อาภาพร กลิ่นเทศ. (2564). ความก้าวหน้าของเทคโนโลยี. ปทุมธานี : สำนักงานพัฒนา

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ.

เบญจพร ตีระวัฒนานนท์. (2563). การพัฒนาบทเรียนออนไลน์ตามแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน เรื่อง การสร้าง ภาพกราฟิก โดยโปรแกรมนำเสนอ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนปลาย

ยืน ภู่วรวรรณ. (2561). (ออนไลน์). ทําไมวิชานี้จึงมีความสําคัญมากจนต้องเป็นวิชาพื้นฐานที่ ”เด็กทุกคน” ต้องเรียน แหล่งที่มา: https://school.dek-d.com/blog/?p=656

Hiemstra, (1994) การเรียนรู้แบบนำตนเอง (Self –Directed Learning)

https://penpakchauypan.wordpress.com/2015/05/13

Dixon, (1992) การเรียนรู้แบบนำตนเอง (Self –Directed Learning)

https://penpakchauypan.wordpress.com/2015/05/13

กีรติ ทองเนตร และเสาวลักษณ์ ขัตติยะมาตร์. (2564).ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนออนไลน์ที่มีต่อ

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความพึงพอใจ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรื่อง

หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสามพรานวิทยา จังหวัด

นครปฐม

ภาสกร ธนศิระธรรม และคณะ. (2564). เพื่อพัฒนาแอปพลิเคชันค้นหาติวเตอร์บนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์

เทคโนโลยีสารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม และ วิทยาการ

คอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

กฤษณะ กิจสกุล. (2566). ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนออนไลน์ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความ

พึงพอใจ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ สำหรับ

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสามพรานวิทยา จังหวัดนครปฐม

อณิมา แพรใหญ่. (2564). การพัฒนาบทเรียนออนไลน์ร่วมกับเทคนิคเพื่อนคู่คิด (Think-Pair-Share) เพื่อเสริม ทักษะการเรียนรู้วิชาวิทยาการคํานวณ สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนธงชัยวิทยา จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์

หัศดินทร์ ส่องสี. (2564). การพัฒนาสื่อในรูปแบบการจําลองฝึกทักษะการแก้ปัญหาตามหลักการแนวคิดเชิง คํานวณสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนธัญญสิทธิศิลป์

ศุภวิชญ์ วุฒิไกรรัตน์ และพงษ์ดนัย จิตติวิสุทธิกุล. (2562). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบสาธิต เรื่อง การใช้งานโปรแกรม ไมโครซอฟต์เวิร์ด สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. ใน การประชุม วิชาการระดับชาติ การจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม ครั้งที่ 5, มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, มหาสารคาม.

มนชัย เทียนทอง. (2545). เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการ

การศึกษาแห่งชาติ

พิสุทธา อารีราษฎร์. (2550). การพัฒนาซอฟต์แวร์ ทางการศึกษา มหาสารคาม มหาวิทยาลัยราชภัฏ

มหาสารคาม

เมษา พูลสวัสดิ. (2559). การพัฒนาบทเรียนออนไลน์ เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์

สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

วรรณภา พิลาทอง. (2558). การพัฒนาบทเรียนออนไลน์วิชาคณิตศาสตร์ เรื่องความน่าจะเป็น

สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา : กรณีศึกษาโรงเรียนเดชอุดม

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-06-30

How to Cite

[1]
แพนพันธุ์อ้วน ป. ., “การพัฒนาสื่อดิจิทัลออนไลน์ ร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบนำตนเอง รายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสงวนหญิง จังหวัดสุพรรณบุรี”, JSciTech, ปี 8, ฉบับที่ 1, มิ.ย. 2024.