การพัฒนารูปแบบกิจกรรมทางกายที่มีผลต่อสมรรถภาพทางกายของผู้สูงอายุ

ผู้แต่ง

  • สมเกียรติ คงธนจินดาสิริ -

คำสำคัญ:

กิจกรรมทางกาย; สมรรถภาพทางกาย; ผู้สูงอายุ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนารูปแบบกิจกรรมทางกายที่มีผลต่อสมรรถภาพทางกายของผู้สูงอายุ และ (2) เปรียบเทียบผลการจัดรูปแบบกิจกรรมทางกายที่มีผลต่อสมรรถภาพทางกายของผู้สูงอายุ (3) หาประสิทธิภาพของกลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 54 คน ผ่านเกณฑ์การคัดเข้าของกลุ่มตัวอย่างและได้รับการรับรองจากแพทย์ด้านสุขภาพก่อนเข้าร่วมกิจกรรม ดำเนินการการเข้าร่วมกิจกรรมทั้งสิ้น 8 สัปดาห์ๆ ละ 3 วัน ได้แก่ จันทร์ พุธ ศุกร์ วันละ 1 ชั่วโมง รวมเป็น 24 ครั้ง เก็บรวบรวมข้อมูลก่อนการฝึก ระหว่างการฝึก หลังการฝึก วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยาย การทดสอบความแปรปรวนทางเดียวชนิดวัดซ้ำ การทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า

               (1) รูปแบบการจัดรูปแบบกิจกรรมทางกายที่มีผลต่อสมรรถภาพทางกายของผู้สูงอายุที่พัฒนาขึ้น มีตรงเชิงเนื้อหา เท่ากับ 3.38 อยู่ในเกณฑ์ เหมาะสมมากที่สุด (2) ผลการเปรียบเทียบจัดรูปแบบกิจกรรมทางกายที่มีผลต่อสมรรถภาพทางกายของผู้สูงอายุกลุ่มทดลองมีสมรรถภาพทางกายที่สูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05   (3) จากการขยายผลโดยใช้รูปแบบกิจกรรมทางกายที่มีผลต่อสมรรถภาพทางกายของผู้สูงอายุ ประกอบด้วย 3 ด้าน คือ ด้านที่ 1 ความรู้สึกที่มีต่อจัดรูปแบบกิจกรรมทางกายที่มีผลต่อสมรรถภาพทางกายของผู้สูงอายุ ด้านที่ 2 กิจกรรมทางกายทำให้มีการเคลื่อนไหวร่างกายทุกส่วน เพิ่มความแข็งแรง และสามารถปฏิบัติกิจกรรมได้นานขึ้น และด้านที่ 3 กิจกรรมทางกายทำให้ได้พบเพื่อนใหม่ มีเพื่อนเพิ่มขึ้น และมีสังคมใหม่เพิ่มขึ้น

References

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล. (2556). สารประชากร พ.ศ. 2556. ปีที่ 22 มกราคม 2556.

นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม.

กระทรงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. รายงานสถานการณ์ทางสังคมและความมั่นคงของมนุษย์

ปี ๒๕๖๕ (มกราคม-มีนาคม), 2566. สืบค้นจาก https://ebooks.m-society.go.th/ebooks/detail/734.

สยาม ทองใบ, ธนสิริ โชคทวีพาณิชย์, เพชรัชน์ อ้นโต, วันดี ฉวีจันทร์ และนารีรมย์ รัตนสัมฤทธิ์. (2019). การศึกษาสมรรถภาพทางกายในกลุ่มผู้สูงอายุ: กรณีศึกษาผู้สูงอายุ ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 7(sup), 380-393.

Fiorilli G., Buonsenso A., Centorbi M., Calcagno G., Iuliano E., Angiolillo A., Ciccotelli S., di Cagno A., & Di Costanzo A. (2022). Long Term Physical Activity Improves Quality of Life Perception, Healthy Nutrition, and Daily Life Management in Elderly: A Randomized Controlled Trial. Nutrients, 14(12), 1-12.

Lin W., Yongmei H., Yingying T., Rui H., & Liancheng Z. (2022) .The Effects of Physical Exercise on the Quality of Life of Healthy Older Adults in China: A Systematic Review. Front. Psychol, 2022(13), 1-9.

Saeed H., & Ali H. D. (2010) The effect of an exercise program on the health-quality of life in older adults. The Danish Medical Journal (DMJ), 57(1), 1-4.

Hyun-Min C., Chansol H., & Sukwon K. (2020). Effects of Elastic Band Exercise on Functional Fitness and Blood Pressure Response in the Healthy Elderly. International Journal of Environmental Research and Public Health, 17(7144), 1-10.

อัจฉรา ปุราคม และคณะ. (2564). เพิ่มกิจกรรมทางกาย เพิ่มพลังประเทศไทย ในวัยสูงอายุ. วารสารสุขศึกษา พลศึกษา และสันทนาการ, 47(1), 1-13.

พิชิต ภูติจันทร์. (2547). วิทยาศาสตร์การกีฬา. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

Keeves. (1988). Educational research, methodology and measurement: An international handbook. Oxford : Pergamon Press.

World Health Organization. 2010. Global Recommendations on Physical Activity for Health. Retrieved December 11, 2020. From http://apps.who.int/iris/bitstream/10665/44399/1/

_eng.pdf.

อัจฉรา ปุราคม, มยุรี ถนอมสุข, สุพรทิพย์ พูพะเนียด, จันทมณี จันทร์แย้ม และปวีณ์ภัสร เศรษฐสิริโชติ. (2556). คู่มือการจัดโปรแกรมกิจกรรมทางกายสำหรับผู้สูงอายุไทย. สืบค้น 14 กรกฎาคม 2559. จาก http://parc.padatabase.net/ attachment/e3.pdf.

สำนักงานใหญ่องค์การอนามัยโลก. (2564). ข้อแนะนำขององค์การอนามัยโลก สำหรับกิจกรรมทางกายและพฤติกรรมเนือยนิ่ง : ฉบับย่อ [WHO Guidelines on Physical Activity and Sedentary Behaviour : at a glance] (เพ็ญลดา ไล้เลิศ, ผู้แปลและเรียบเรียง) (พิมพ์ครั้งที่ 1) ปทุมธานี: บริษัท มินนี่ กรุ๊ป จำกัด. (ต้นฉบับพิมพ์ ปี ค.ศ. 2020).

Physical Activity Guidelines Advisory Committee. (2008). Physical Activity Guidelines Advisory Committee Report, DC: U.S. Department of Health and Human Services.

สุพิตร สมาหิโต และคณะ. (2556). แบบการทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกาย สาหรับผู้สูงอายุ อายุ 60-89 ปี. กรุงเทพฯ: สานักวิทยาศาสตร์การกีฬา กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา.

สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. (2566). รายงานสถานการณ์สังคมจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565. สืบค้น 21 กรกฎาคม 2566. จาก https://www.m-society.go.th/ewtadmin/ewt/mso_web/download/article/article_20220920143343.pdf.

Yamane T. (1973). Statistics: an introductory analysis. New York: New York: Harper & Row.

Austin, D.R. 2004. Therapeutic Recreation Processes and Technique. IL: Sagamore Publishing.

บุญชม ศรีสะอาด. (2557). การวิจัยทางการวัดผลและประเมินผล. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

Willer, D. (1986). Scientific sociology: Theory and method. Englewood cliff, Nj: Prentice-Hill.

American College of Sports Medicine. (2014). Quantity and Quality of Exercise for Developing and Maintaining Cardiorespiratory, Musculoskeletal, and Neuromotor Fitness in Apparently Healthy Adults: Guidance for Prescribing Exercise. Medicine & Science in Sports & Exercise, 43(7), p.p. 1334-1359.

พรรณทิพ แสงสว่าง, โรจนี จิตนาวัฒน์ และกนกพร สุคาวัง. (2559). ผลของการออกกาลังกายแบบก้าวตามตารางต่อสมรรถภาพทางกายในผู้สูงอายุ. Thai Journal of Nursing Council, 31(1), 5-18.

รัญชนา หน่อคำ ศิริรัตน์ ปานอุทัย และทศพร คำผลศิริ. (2559). ผลของการออกกำลังกายแบบก้าวตามตารางต่อการทรงตัวในผู้สูงอายุ. พยาบาลสาร, 43(3), หน้า 58-68.

มินตรา สาระรักษ์. (2558). การส่งเสริมกิจกรรมทางกายในวัยสูงอายุ. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 17(1), 24-35.

ถาวร กมุทศรี. (2560). การเสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย “Physical Fitness Coordination”. หจก. มีเดีย เพรส.

เจริญ กระบวนรัตน์. วิทยาศาสตร์การฝึกศอนกีฬา. กรุงเทพฯ: สินธนาก็อปปีเซนเตอร์. 2557.

วัชรินทร์ เสมามอญ. (2556). การมีส่วนร่วมในการพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมนันทนาการสำหรับผู้สูงอายุในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาและจังหวัดอ่างทอง. วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตร์มหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการพยาบาล, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.

เผยแพร่แล้ว

2024-09-28

How to Cite

[1]
คงธนจินดาสิริ ส., “การพัฒนารูปแบบกิจกรรมทางกายที่มีผลต่อสมรรถภาพทางกายของผู้สูงอายุ ”, JSciTech, ปี 8, ฉบับที่ 2, ก.ย. 2024.