การศึกษาวิเคราะห์องค์ประกอบของร่างกายที่มีต่อสุขภาพของบุคลากรคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ

ผู้แต่ง

  • สมเกียรติ คงธนจินดาสิริ -

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์องค์ประกอบของร่างกายที่มีต่อสุขภาพของบุคลากรคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ เพื่อจะได้นำผลการศึกษามาใช้เป็นข้อมูลเบื้องต้นในการวางแผนปรับปรุงแก้ไขและส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพให้แก่บุคลากรคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ กลุ่มประชากร คือ กลุ่มบุคลากรที่ปฏิบัติหน้าที่ในคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ จำนวนทั้งหมด 122 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ เครื่องตรวจวิเคราะห์องค์ประกอบของร่างกาย วิเคราะห์ข้อมูลโดย หาร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และนำเสนอในรูปของตาราง ผลการวิจัยพบว่า องค์ประกอบของร่างกายที่มีต่อสุขภาพของบุคลากรคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ไม่เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่เมื่อพิจารณารายละเอียดในแต่ละด้าน พบว่า มีค่าดัชนีมวลกายลดลงเนื่องจากการมีน้ำหนักตัวลดลง ร้อยละของมวลไขมันในร่างกายเพิ่มขึ้น มีน้ำหนักตัวลดลงเนื่องจากการมีมวลกล้ามเนื้อลายลดลง

References

สมเกียรติ คงธนจินดาสิริ และคณะ. การศึกษาพฤติกรรมการใช้เวลาว่างของนักศึกษามหาวิทยาลัย เทคโนโลยี ราชมงคลสุวรรณภูมิ ระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 1 ปีการศึกษา 2564. วารสารวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มทร.สุวรรณภูมิ. 2565, 6 (1) : 47-66.

เปรมยศ เปี่ยมนิธิกุล อดุลย์ บัณฑุกุลและสุธีร์ รัตนะมงคลกุล. ภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วนกับการลาป่วย

ของคนงานโรงงานผลิตชิ้นส่วนรถยนต์แห่งหนึ่ง. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชาอาชีวเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 2556.

WHO. Population-based approaches to childhood obesity prevention. Geneva: WHO. 2012 Retrieve from. https://apps.who.int/iris/bitstream/handle/10665/80149/

_eng.pdf?sequece%3d1, 10 September 2022.

นิยม จันทร์แนม สุกัญญา กุลแก้ว และพงศ์เทพ สุธีรวุฒิ. ผลการใช้โปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพต่อ การลดน้ำหนักของเด็กมัธยมศึกษาตอนต้น ที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์มาตรฐาน อำเภอหาดใหญ่

จังหวัดสงขลา. คลังและข้อมูลความรู้ระบบสุขภาพ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. 2558.

สุพิตร สมาหิโต และคณะ. แบบทดสอบและเกณฑมาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับผูสูงอายุ.

สำนักวิทยาศาสตร์การกีฬา กรมพลศึกษา กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา. 2556.

กิตติศักดิ์ วงษ์ดนตรี. ผลของการฝึกที่ความเข้มข้นสูงแบบหนักสลับเบาที่มีต่อน้ำหนักตัวและสมรรถภาพทาง กายของนักกีฬามวยปล้ำ. วิทยานิพนธ์หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การออก กำลังกายและการกีฬา คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยบูรพา. 2558.

อดิเทพ มโนนะที. ผลของการจัดกิจกรรมพลศึกษาโดยใช้โปรแกรมการออกกำลังกายแบบใช้ น้ำหนักตัวเป็น แรงต้านเพื่อลดน้ำหนักและเปอร์เซ็นต์ไขมันของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ตอนต้นที่มีภาวะ น้ำหนักเกิน. วิทยานิพนธ์ครุศาสต์รมหาบัณฑิต สาขาวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา. ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2558.

ภาคพงษ์ สุวรรณสิงห์. ผลของการฝึกแรงต้าน ด้วยน้ำหนักตัวแบบวงจรที่มีต่อสมรรถภาพทางกายที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพของนักเรียนประถมศึกษาที่มีภาวะน้ำหนักเกิน. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา. ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2556.

สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ. พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550. บริษัท วิกิ จำกัด, กรุงเทพมหานคร. 2552.

วรรณวิมล เมฆวิมล. พฤติกรรมการดูแลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ฝึกปฏิบัติงานของนักศึกษาสาขาวิชา การแพทย์แผนไทยประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. 2553.

ชยานนท์ อวิคุณประเสริฐ และคณะ. การศึกษาทัศนคติของนักศึกษาในการออกกำลังกายและความวิตก กังวลเกี่ยวกับรูปรางในชวงการแพรระบาดของไวรัสโควิด-19 ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนบน. วารสารศิลปศาสตรและวิทยาการจัดการ. 2564, 8 (2) :101-113.

Ibrahim, M. R. The Ways of Spending Leisure time by Students of Bamyan University. 2020. Retrieved from https://www.researchgate.net/publication/340173706,

September 2022.

สมฤดี หาญมานพ และคณะ. การเปรียบเทียบผลของการออกกำลังกายในน้ำและบนบกต่อความดันโลหิต และองค์ประกอบของร่างกายในผู้ที่มีน้ำหนักเกินมาตรฐานและอ้วน. วารสารวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี. 2562, 27 (4).

Sukys, S. et al. Reasons and Barriers for University Students' Leisure-Time Physical

Activity: Moderating Effect of Health Education. Percept Mot Skills. 2019

Dec;126(6):1084-1100. doi: 10.1177/0031512519869089. Epub 2019 Aug 13.

PMID: 31407961.

อาภัสรา อัครพันธุ์ และคณะ. การสำรวจดัชนีมวลกายและร้อยละของไขมันในร่างกายของนิสิตและ บุคลากรคณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประจำปีการศึกษา 2554.

การประชุมวิชาการแห่งชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ครั้ง ที่ 9. 2554.

เผยแพร่แล้ว

2024-12-23

How to Cite

[1]
คงธนจินดาสิริ ส. . ., “การศึกษาวิเคราะห์องค์ประกอบของร่างกายที่มีต่อสุขภาพของบุคลากรคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ”, JSciTech, ปี 8, ฉบับที่ 3, ธ.ค. 2024.