การตัดสินใจเลือกรูปแบบโครงงานวิทยาศาสตร์ โดยใช้กระบวนการวิเคราะห์ลำดับชั้น กรณีศึกษาโรงเรียนอนุกูลนารี
DOI:
https://doi.org/10.14456/jeit.2023.5คำสำคัญ:
เทคนิคหลากหลายรูปแบบนำมาผสมผสาน, โครงงานวิทยาศาสตร์, กระบวนการวิเคราะห์ลำดับชั้นบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเลือกรูปแบบการจัดการเรียนรู้จากโครงงานวิทยาศาสตร์โดยพิจารณาปัจจัยเทคนิคการสอนแบบผสมผสานกัน จำนวน 5 ปัจจัย ได้แก่ กระบวนการกลุ่ม การฝึกคิด การแก้ปัญหาการเน้นกระบวนการ การสอนแบบปริศนาความคิด และการสอนแบบร่วมกันคิด และมี 4 ทางเลือกของโครงงานวิทยาศาสตร์ เพื่อให้เกิดเหมาะสมต่อผู้เรียนเป็นสำคัญในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยการประยุกต์ใช้กระบวนการตัดสินใจด้วยวิธีกระบวนการวิเคราะห์ลำดับชั้น กรณีศึกษาโรงเรียนอนุกูลนารี ผลการวิจัยพบว่าครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตัดสินใจเลือกโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทการทดลองที่มีผลรวมของปัจจัยในแต่ละทางเลือกมากที่สุด มีคะแนนรวม 49.66 และปัจจัยที่มีความสำคัญมากที่สุดต่อการตัดสินใจเลือกรูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานวิทยาศาสตร์คือ การฝึกคิด มีคะแนน 51.85 เปอร์เซ็นต์
Downloads
References
[1] พิมพันธ์ เดชะคุปต์, โครงงานวิทยาศาสตร์การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการเพื่อพัฒนาการคิด. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549.
[2] จารุณี ซามาตย์, การพัฒนาโมเดลสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้บนเครือข่ายตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ที่ส่งเสริมการคิดสร้างสรรค์ของนักศึกษาระดับอุดมความคิดสร้างสรรค์. วิทยานิพนธ์: มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2552.
[3] วัลนิกา ฉลากบาง, การวิจัยแบบผสมผสาน. วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม, 2560. 7(2).
[4] ลัดดา ภู่เกียรติ, การสอนโดยใช้กิจกรรมโครงงานเพื่อพัฒนาผู้เรียนเป็นสำคัญ. วารสารครุศาสตร์, 2544. 3(28).
[5] ศศมน มันทะเล และฆริกา คันธา, การหาเกณฑ์ที่เหมาะสมสำหรับการคัดเลือกสถานที่สำหรับสร้างสถานีขนถ่ายมูลฝอยย่อย โดยใช้กระบวนการวิเคราะห์ลำดับชั้น. วารสารพัฒนาสังคม, 2563. 22(2).
[6] สกนธ์ คล่องบุญจิต, การเลือกทำเลที่ตั้งของโรงงานด้วยกระบวนการลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์. วารสารรัชต์ภาคย์, 2561. 12(25).
[7] สายพิณ รานอก, การตัดสินใจเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ไข่แปรรูปของผู้บริโภค โดยการวิเคราะห์เชิงลำดับขั้น. วารสารสหวิทยาการวิจัย: ฉบับบัณฑิตศึกษา, 2562. 8(2).
[8] กันต์ธมน สุขกระจ่าง, ปัจจัยที่ส่งผลต่อกระบวนการตัดสินใจในการเลือกทำเลที่ตั้งของร้านขายแก๊ส โดยวิธี AHP. วารสารวิชาการคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฎลำปาง, 2560. 10(1).
[9] Saaty, T.L. and G. Mitra, What is the analytic hierarchy process?, Mathematical models for decision support. Springer Berlin Heidelberg, 1988: p.109-121.
[10] Saaty, T.L., How to make a decision: The analytic hierarchy process. European Journal of Operational Research, 1990. 48(1): p. 9–26.
[11] Tansirimongkol, W., AHP Advanced decision for organization progress and public well-being. Amarin Printing & Publishing Public Co., Ltd., Bangkok, 2014.
[12] Chaibate, H., A. Hadek, S. Ajana and S. Bakkali, Analytical Hierarchy Process Applied to Pedagogical Method Selection Problems Education Research International, 2021: p.1-13.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
หมวดหมู่
License
Copyright (c) 2023 วารสารวิศวกรรมและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ลิขสิทธิ์ของวารสาร
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทยก่อนเท่านั้น