การประเมินความสามารถในการเดินและศักยภาพของการเดินในเขตเทศบาลตำบลหัวไทร เพื่อพัฒนาสภาพแวดล้อมเมือง

ผู้แต่ง

  • วิศรุต ช่วยจันทร์ สาขาวิชาเทคโนโลยีโยธา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
  • สุวัฒนา นิคม สาขาวิชาเทคโนโลยีโยธา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
  • เอกลักษณ์ กาญจนเพ็ญ สาขาวิชาเทคโนโลยีโยธา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
  • ประภัสสร กุลทอง สาขาวิชาเทคโนโลยีโยธา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
  • ทิฆัมพร เขมวงศ์ สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
  • ปรเมษฐ หอมผวล สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดสุราษฎร์ธานี

DOI:

https://doi.org/10.14456/jeit.2025.9

คำสำคัญ:

ดัชนีความสามารถในการเดิน, การประเมินทางเท้า, เทศบาลตำบลหัวไทร, ความปลอดภัยของคนเดินเท้า, การข้ามถนน

บทคัดย่อ

การเดินเป็นรูปแบบการเดินทางพื้นฐานที่มีบทบาทสำคัญในการเข้าถึงบริการและกิจกรรมในชีวิตประจำวัน รวมถึงส่งเสริมสุขภาพ ลดการใช้พลังงาน และสนับสนุนการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาและประเมินความสามารถในการเดิน (Walkability) ภายในเขตเทศบาลตำบลหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยใช้ดัชนีความสามารถในการเดิน (Walkability Index: WI) เป็นเครื่องมือหลัก ร่วมกับระเบียบวิธีวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed-Methods Research) ซึ่งประกอบด้วยแบบสอบถามจากประชาชน 400 คน สัมภาษณ์เชิงลึกเจ้าหน้าที่ท้องถิ่น และการสำรวจภาคสนาม โดยผลการประเมินพบว่า ค่าดัชนี WI เฉลี่ยอยู่ที่ 71.18 คะแนน ซึ่งอยู่ในระดับ “ดี” โดยปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการเดินมากที่สุด ได้แก่ การบำรุงรักษาและความสะอาดของทางเท้า ความพร้อมของทางข้ามถนน และความปลอดภัยจากอาชญากรรม อย่างไรก็ตาม ยังพบข้อจำกัดในด้านสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้พิการ ความปลอดภัยของการข้ามถนนในบางพื้นที่ และพฤติกรรมของผู้ขับขี่ที่ยังไม่เป็นมิตรต่อคนเดินเท้า งานวิจัยนี้นำเสนอแนวทางในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางเท้าให้มีความต่อเนื่อง ปลอดภัย และรองรับการเข้าถึงของประชาชนทุกกลุ่ม โดยเฉพาะผู้เปราะบาง เช่น ผู้สูงอายุและผู้พิการ ทั้งนี้ผลการศึกษาเป็นข้อมูลสำคัญที่สามารถนำไปใช้สนับสนุนนโยบายท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมการเดินเท้าในชุมชน และบรรลุเป้าหมายการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน

Author Biographies

วิศรุต ช่วยจันทร์, สาขาวิชาเทคโนโลยีโยธา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช

Department of Civil Engineering Technology, Faculty of Industrial Technology, Nakhon Si Thammarat Rajabhat University

เอกลักษณ์ กาญจนเพ็ญ, สาขาวิชาเทคโนโลยีโยธา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช

Department of Civil Engineering Technology, Faculty of Industrial Technology, Nakhon Si Thammarat Rajabhat University

ประภัสสร กุลทอง, สาขาวิชาเทคโนโลยีโยธา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช

Department of Civil Engineering Technology, Faculty of Industrial Technology, Nakhon Si Thammarat Rajabhat University

ทิฆัมพร เขมวงศ์, สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช

Department of Electrical Engineering, Faculty of Industrial Technology, Nakhon Si Thammarat Rajabhat University

ปรเมษฐ หอมผวล, สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดสุราษฎร์ธานี

Department of Public Works and Town & Country Planning, Surat Thani Province

References

[1] J. Gehl, Life Between Buildings: Using Public Space, 6th ed. Washington, DC: Island Press, 2011.

[2] L. D. Frank, P. Engelke and T. L. Schmid, Health and Community Design: The Impact of the Built Environment on Physical Activity. [Online]. Available: ResearchGate, vol. 59, pp. 250–251, 2003.

[3] V. Mehta, "Walkable streets: pedestrian behavior, perceptions and attitudes," J. Urbanism: Int. Res. Placemaking Urban Sustain., vol. 1, no. 3, pp. 217–245, Nov. 2008. DOI: 10.1080/17549170802529480.

[4] S. H. Rogers, et al., "Examining walkability and social capital as indicators of quality of life at the municipal and neighborhood scales," Appl. Res. Qual. Life, vol. 6, no. 2, pp. 201–213, Jun. 2011. DOI: 10.1007/s11482-010-9132-4.

[5] M. Southworth, "Designing the walkable city," J. Urban Plann. Dev., vol. 131, no. 4, pp. 246–257, Dec. 2005. DOI: 10.1061/(ASCE)0733-9488(2005)131:4(246).

[6] T. Litman, Evaluating Transportation Equity. Victoria, Canada: Victoria Transport Policy Institute, 2017.

[7] R. Ewing and R. Cervero, "Travel and the built environment: A meta-analysis," J. Am. Plann. Assoc., vol. 76, no. 3, pp. 265–294, Jun. 2010. DOI: 10.1080/01944361003766766.

[8] E. Leslie, et al., "Walkability of local communities: Using geographic information systems to objectively assess relevant environmental attributes," Health Place, vol. 13, no. 1, pp. 111–122, Mar. 2007. DOI: 10.1016/j.healthplace.2005.11.001.

[9] J. Pichitlamken and J. Kamphorst, "Pedestrian infrastructure and walkability in Thai cities," Urban Stud. J., vol. 57, no. 2, pp. 320–337, 2020.

[10] United Nations, "Transforming our world: the 2030 Agenda for Sustainable Development," 2015. [Online]. Available: https://sdgs.un.org/2030agenda. [Accessed: Mar. 10, 2025].

[11] H. V. Krambeck, "The global walkability index," M.S. thesis, Dept. Urban Studies, Massachusetts Institute of Technology, 2006. [Online]. Available: https://dspace.mit.edu/handle/1721.1/34409. [Accessed: Mar. 10, 2025].

[12] J. Leather, H. Fabian, G. Sudhir and A. Mejia, Walkability and Pedestrian Facilities in Asian Cities: State and Issues, Asian Development Bank, no. 17, 2011. [Online]. Available: https://www.adb.org/publications/walkability-and-pedestrian-facilities-asian-cities-state-and-issues. [Accessed: Sep. 13, 2023].

[13] M. A. Alfonzo, "To walk or not to walk? The hierarchy of walking needs," Environ. Behav., vol. 37, no. 6, pp. 808–836, Nov. 2005. DOI: 10.1177/0013916504274016.

[14] A. Forsyth and M. Southworth, "Cities afoot—Pedestrians, walkability and urban design," J. Urban Des., vol. 13, no. 1, pp. 1–3, Feb. 2008. DOI: 10.1080/13574800701816896.

[15] R. Imrie, "Universalism, universal design and equitable access to the built environment," Disabil. Rehabil., vol. 34, no. 10, pp. 873–882, May 2012. DOI: 10.3109/09638288.2011.624250.

[16] K. L. Cain et al., "Development and reliability of a streetscape observation instrument for international use: MAPS-global," Int. J. Behav. Nutr. Phys. Act., vol. 15, no. 1, p. 19, Feb. 2018. DOI: 10.1186/s12966-018-0650-z.

[17] A. C. Lusk, P. G. Furth, P. Morency, L. F. Miranda-Moreno, W. C. Willett and J. T. Dennerlein, "Risk of injury for bicycling on cycle tracks versus in the street," Injury Prev., vol. 17, no. 2, pp. 131–135, Apr. 2011. DOI: 10.1136/ip.2010.028696.

[18] R. J. Schneider, R. M. Ryznar and A. J. Khattak, "An accident waiting to happen: A spatial approach to proactive pedestrian planning," Accid. Anal. Prev., vol. 36, no. 2, pp. 193–211, Mar. 2004. DOI: 10.1016/S0001-4575(02)00149-5.

[19] S. Foster, et al., "Safe RESIDential Environments? A longitudinal analysis of the influence of crime-related safety on walking," Int. J. Behav. Nutr. Phys. Act., vol. 13, no. 1, p. 22, Feb. 2016. DOI: 10.1186/s12966-016-0343-4.

[20] T. Yamane, Statistics: An Introductory Analysis, 3rd ed. New York, NY: Harper and Row, 1973.

[21] W. E. Marshall and N. W. Garrick, "Street network types and road safety: A study of 24 California cities," Urban Des. Int., vol. 15, no. 3, pp. 133–147, Sep. 2010. DOI: 10.1057/udi.2009.31

[22] B. E. Saelens, J. F. Sallis and L. D. Frank, "Environmental correlates of walking and cycling: Findings from the transportation, urban design, and planning literatures," Ann. Behav. Med., vol. 25, no. 2, pp. 80–91, 2003. DOI: 10.1207/S15324796ABM2502_03.

[23] E. Talen and J. Koschinsky, "The walkable neighborhood: A literature review," Int. J. Sustain. Land Use Urban Plann., vol. 1, no. 1, Mar. 2013. DOI: 10.24102/ijslup.v1i1.211.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

29-04-2025

How to Cite

[1]
ช่วยจันทร์ ว., นิคม ส., กาญจนเพ็ญ เ., กุลทอง ป., เขมวงศ์ ท., และ หอมผวล ป., “การประเมินความสามารถในการเดินและศักยภาพของการเดินในเขตเทศบาลตำบลหัวไทร เพื่อพัฒนาสภาพแวดล้อมเมือง”, JEIT, ปี 3, ฉบับที่ 2, น. 41–55, เม.ย. 2025.