การประยุกต์ใช้ผลึกเหลวเป็นเซนเซอร์วัดอุณหภูมิในกระบวนการถ่ายเทความร้อน

ผู้แต่ง

  • อาณัติ พิลา ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโยลีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร เลขที่ 140 ถนนเชื่อมสัมพันธ์ แขวงกระทุ่มราย เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร 10530 เบอร์โทรศัพท์ 029883655
  • ปภพ รื่นเริง ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโยลีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร เลขที่ 140 ถนนเชื่อมสัมพันธ์ แขวงกระทุ่มราย เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร 10530 เบอร์โทรศัพท์ 029883655
  • พิชิต แก้วโกสุม ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เลขที่ 1 ถนนฉลองกรุง แขวงลาดกระบัง เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร 10520 เบอร์โทรศัพท์ 023298350
  • ชินรักษ์ เธียรพงษ์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เลขที่ 1 ถนนฉลองกรุง แขวงลาดกระบัง เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร 10520 เบอร์โทรศัพท์ 023298350
  • สมิทธ์ เอี่ยมสอาด ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโยลีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร เลขที่ 140 ถนนเชื่อมสัมพันธ์ แขวงกระทุ่มราย เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร 10530 เบอร์โทรศัพท์ 029883655

คำสำคัญ:

การสอบเทียบ, การแลกเปลี่ยนความร้อน, ผลึกเหลว, เซนเซอร์วัดอุณหภูมิ

บทคัดย่อ

ผลึกเหลวถูกนำมาใช้กันอย่างแพร่หลายโดยเฉพาะนักวิจัยที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการถ่ายเทความร้อนและพฤติกรรมของของไหลเพื่อเป็นเทคนิคในการถ่ายภาพความร้อนสำหรับการนำไปใช้ในการวัดการกระจายตัวของอุณหภูมิ ผลึกเหลวมีส่วนผสมของสารเคมีที่มีคุณสมบัติที่ก่อให้เกิดสีที่มีความแตกต่างกันไปตามอุณหภูมิ ผลึกเหลวสามารถตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิได้อย่างต่อเนื่อง ในขณะที่เซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิแบบดั้งเดิมไม่สามารถทำได้ เมื่อต้องการใช้ผลึกเหลวในการวัดอุณหภูมินั้นจำเป็นต้องมีการสอบเทียบเพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิและสีของผลึกเหลว ซึ่งในการถ่ายภาพ การวัดสีและแสง ความเป็นเส้นตรงและฮีสเทอรีซีสเป็นปัจจัยสำคัญที่ต้องคำนึงในขณะที่ทำการสอบเทียบ บทความนี้จึงถูกออกแบบมาเพื่อให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับผู้ที่จะนำผลึกเหลวไปใช้งาน โดยเฉพาะหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับการสอบเทียบผลึกเหลว และเมื่อนำผลึกเหลวไปประยุกต์ใช้ในกระบวนการถ่ายเทความร้อนในเครื่องอุ่นอากาศพลังงานแสงอาทิตย์แล้วแสดงให้เห็นว่าสามารถที่จะนำไปใช้วัดการกระจายตัวของอุณหภูมิได้อย่างถูกต้อง

References

Baughn JW. Review of passive heat transfer augmentation techniques. J Power Energ. 2004;218(7):509-527.

Nuntadusit C, Waehahyee M, Bunyajitradulya A, Shakouchi T. Heat transfer enhancement for a swirling jet impingement. The 14th International Symposium on Flow Visualization; 2010 June 21–24; Daegu, Korea. ISFV14; 2010.

Stasiek JA, Kowalewsk TA. Thermochromic liquid crystals applied for heat transfer research. Opto Electron. 2002;10(1):1-10.

Stasiek J, Stasiek A, Jewartowski M, Collins MW. Liquid crystal thermography and true-color digital image processing. Optics Laser Technol. 2006;38(4):243–256.

Kanjanaworawanit B. Ink changes color based on temperature. Material Technology; 2017.

Cukurel B, Selcan C, Arts T. Color theory perception of steady wide band liquid crystal thermometry. Exp Therm Fluid Sci. 2012;39:112–122.

Lee KC. Yianneskis M. A Liquid crystal thermography technique for the measurement of mixing characteristics in stirred vessels. Trans IChemE. 1997;75(8):746–754.

OMEGA Engineering. Thermochromic Liquid crystal. INC. One Omega Drive; 2014 [cited 2023 Jan 21]. Available from: https://www.omega.com.

Phattharajarrukul B. Fundamentals of Digital Image Processing. SE-ED Book Center; 2017.

Tangsrirat W. Sensors and Transducers. TPA Publishing; 2010.

Ower E, Pankhurst RC. Measurement of Air Flow, 5th edition Pergamon Press (in SI units ed.); 1977.

ASME MFC-3M. Measurement of Fluid Flow in Pipes Using Orifice, Nozzle, and Venturi. United Engineering Center. New York; 1984.

Incropera FP, Witt PD, Bergman TL, Lavine AS. Fundamentals of heat and mass transfer. John-Wiley & Sons; 2006.

Promvonge P, Thianpong C. Thermal performance assessment of turbulent channel flows over different shaped ribs. Int. Comm. Heat Mass Transf. 2008;35(10):1327-1334.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

30-04-2024