คณิตศาสตร์กับความตาย
คำสำคัญ:
คณิตศาสตร์, การประยุกต์ใช้คณิตศาสตร์, ความตายบทคัดย่อ
บทความนี้นำเสนอบทบาทของคณิตศาสตร์ที่มีความเกี่ยวข้องกับความตายของมนุษย์ ในด้านต่าง ๆ ได้แก่ สถิติกับการตาย การประมาณเวลาตาย การตายจากการถูกฆาตกรรม การตายด้วยโรคติดต่อ การประกันชีวิต และค่าใช้จ่ายในพิธีกรรมศพ
References
กองยุทธศาสตร์และแผนงาน กระทรวงสาธารณสุข. (2564). สถิติสาธารณาสุข 2563. นนทบุรี: กระทรวงสาธารณสุข.
กองยุทธศาสตร์และแผนงาน กระทรวงสาธารณะสุข. (2560). คู่มือการบันทึกหนังสือรับรองการตาย (ปรังปรุง 2017). นนทบุรี: กระทรวงสาธารณสุข.
คณาจารย์โปรแกรมวิชาคณิตศาสตร์และสถิติประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. (2552). การคิดและการตัดสินใจ. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
ชัยรัตน์ มดนาค. (2565). คณิตศาสตร์ประกันชีวิตเบื้องต้น. พิษณุโลก: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยนเรศวร.
ชูเกียรติ ประมูลผล. (2534). หลักการประกันชีวิต. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ชูชาติ โชคสถาพร และคณะ. (2559). การศึกษาอิทธิพลของวิถียิงและระยะยิงของกระสุนปืนที่มีต่อร่องรอยแตกร้าวบนกระจกรถยนต์. Veridian E-journal Silpakorn University. 3(5): 274-288.
ฐิติชญา เหลืองไพโรจน์ และ ณรงค์ กุลนิเทศ. (2563). การศึกษาอิทธิพลของกระสุนปืนและวิถียิงของกระสุนปืนที่มีผลต่อมุมที่วัดจากร่องรอยของลูกกระสุนปืนบนแผ่นโลหะตัวถังรถยนต์ที่ถูกยิงด้วยปืนพกออโตเมติก ขนาด 9 มิลลิเมตร Luger. การประชุมวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 1 “Graduate School Conference 2019”. 1012-1020.
ณัฐวุฒิ คูวัฒนเธียรชัย. (2556). หลักการประกันชีวิต. กรุงเทพฯ: คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ดวงภรณ์ แดงจีน. (2554). การประมาณความสูงจากความยาวของการก้าวขณะเดิน. วิทยานิพนธ์ วท.ม. (นิติวิทยาศาสตร์). นครปฐม: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ธนัชยศ จำปาหวาย. (2564). คณิตศาสตร์การเงิน. กรุงเทพฯ: คณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
เนชั่นออนไลน์. (2564). ตำรวจ เปิดสถิติคดีอาชญากรรมไทยรอบ 1 ปี. จาก https://www.nationtv.tv/news/378837414. [สืบค้นเมื่อ 8 เมษายน 2566]
ปฐมาภรณ์ อวชัย. (2557). คณิตศาสตร์กับนิติวิทยาศาสตร์. นิยสาร สสวท. 42(187): 27-30.
ปิยะพันธุ์ นันตา. (ออนไลน์). โรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ. จาก http://www.libarts.mju.ac.th/libdocument/EBook [สืบค้นเมื่อ 27 มีนาคม 2566]
พระครูอมรปัญญารัตน์ และคณะ. (2561). การประยุกต์ใช้พุทธปรัชญาในพิธีการจัดการงานศพในประเทศไทย. วารสารเซนต์จอห์น. 21(28). 148-162.
พระณัฏฐวัฒน์ ญาณปฺปโภ. (2561). การเผชิญกับความตายอย่างสงบ. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมกุฏราชวิทยาลัย. 1(2): 28-39.
พิมพ์นภัส ศรีอิ่นแก้ว และ เอกสันติ์ สุขวัจน์. (2557). การประมาณมุมองศาการยิงจากรอยแตกร้าวและรอยแตกทะลุที่กระจกบังลมด้านหน้ารถยนต์. วารสารวิชาการโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า. 12(2557): 97-108.
ภัสน์วจี ศรีสุวรรณ์. (2557). ฉลาดทำศพ การจัดและร่วมงานอย่างเรียบง่าย ได้ปัญญา. กรุงเทพฯ: โครงการสื่อสารสร้างความตระหนัก วิถีสู่การตายอย่างสงบ เครือข่ายพุทธิกา.
รัชฎา วิริยพงศ์. (2564). ตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ด้วยสมการเชิงอนุพันธ์. พิษณุโลก: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยนเรศวร.
รุ่งรพีพรรณ อุจวาที. (2551). การพัฒนาสูตรเพื่อใช้ในการหามุมตกกระทบของหยดเลือด. วิทยานิพนธ์ วท.ม. (นิติวิทยาศาสตร์). นครปฐม: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
วรเชษฐ์ ขอบใจ. (2565). รูปแบบสมการสำหรับประเมินช่วงเวลาหลังการตายของศพที่ตายผิดธรรมชาติในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ ปร.ด. (นิติวิทยาศาสตร์และงานยุติธรรม). นครปฐม: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
เวทิต คำพอ. (2534). คณิตศาสตร์ประกันชิวิต. กรุงเทพ:สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ศูนย์กฎหมาย กรมควบคุมโรค. (2558). พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สมาคมประกันชีวิตไทย. (2555). รอบรู้ประกันชิวิต. กรุงเทพฯ: สมาคมประกันชีวิตไทย.
สำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย. (ออนไลน์). ความหมายของการประกันชีวิต. จาก https://www.oic.or.th/th/education/insurance/life/meaning [สืบค้นเมื่อ 31 มีนาคม 2533]
สำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย. (ออนไลน์). ตารางมรณะไทย 2560. จาก https://www.oic.or.th/th/consumer/25 [สืบค้นเมื่อ 31 มีนาคม 2533]
สุภาวรรณ เศรษฐบรรจง. (2559). การประมาณเวลาตายในเวชปฏิบัติ. วารสารคณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี. 39(4): 225-233.
สุริยาหีบศพ. (ออนไลน์). ค่าใช้จ่ายในการจัดงานศพ. จาก https://www.suriyafuneral.com/ [สืบค้นเมื่อ 1 เมษายน 2566]
อัจฉราพร พาเก่าน้อย และคณะ. (2556). ความแตกต่างของร่องรอยที่เกิดจากลูกกระสุนปืนรีวอลเวอร์ ขนาด .38 สเปเชียล (LRN) และลูกกระสุนปืนออโตเมตริก ขนาด 9 มิลลิเมตร ลูเกอร์ (LRN) เมื่อเข้าประทะบนแผ่นโลหะ. วารสารวิทยาศาสตร์ มข.. 41(3): 770-780.
อิทธิเทพ นวาระสุจิตร และคณะ. (2565). ตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ของโรคโควิด-19 ในประเทศไทย. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์. 14(19): 26-37.
The Standard. (2565). “เกิดน้อย ตายเยอะ” ย้อนดูอัตราเกิด-ตาย ในรอบ 9 ปี. จาก https://thestandard.co/birth-death-rate-in-9-years/?fbclid=IwAR35ESv7HSONQjB9XXoSEg_AQ21VbusQAIu44UrAIv0OJ5cz6HNekXdJj_k [สืบค้นเมื่อ 30 มีนาคม 2565]
Berdan, C. (2018). Improving methods to estimate time of death from body temperature. Thesis M.S. (Biology). Newark: The State of University of New Jersey.
Brooks, H, Z., and Others. (2021). Disease Detectives: Using Mathematics to Forecast the Spread of Infectious Diseases. From https://kids.frontiersin.org/articles/10.3389/frym.2020.577741. [Accessed 28 March 2023]
Dillon, S, R. (Online). Death and Kinetics. From https://www.chem.fsu.edu/chemlab/chm1020c/Lecture%208/02.php. [Accessed 26 March 2023]
Education Interactive. (Online). Bullet Trajectory Analysis. From
https://educationinteractive.com.au/wp-content/uploads/2019/06/High-School-Forensic-Science-Trigonmetery-Teacher-Resource.pdf [Accessed 6 April 2023]
Knill, G. (1981). Mathematics in forensic science. The Mathematics Teacher. 74(2): 125-149.
Makovicky, P. and Others. (2013). The use of trigonometry in bloodstain analysis. Soud Lek. 58(2): 20-25.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสาร มรภ.กพ. วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร มรภ.กพ. วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี
ข้อคิดเห็นใดๆ ที่ปรากฎในวารสารเป็นวรรณกรรมของผู้เขียนโดยเฉพาะ ซึ่งมหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชรและบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย