การศึกษาทางกายวิภาคของนางอั้วคางยาว เอื้องหอมเตย และเอื้องลิ้นมังกร (วงศ์กล้วยไม้)
คำสำคัญ:
กายวิภาคของกล้วยไม้, นางอั้วคางยาว, เอื้องหอมเตย, เอื้องลิ้นมังกรบทคัดย่อ
การศึกษากายวิภาคของเนื้อเยื่อลำต้นใต้ดิน ราก ช่อดอก และใบของนางอั้วคางยาว เอื้องหอมเตย และเอื้องลิ้นมังกร โดยเทคนิคการตัดด้วยมืเปล่าและนำไปส่องใต้กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง พว่า ลำต้นใต้ดินมีการจัดเรียงตัวของเนื้อเยื่อภายในเหมือนกันทั้งสามชนิด โดยเอื้องหอมเตยและเอื้องลิ้นมังกรพบการสะสมของเม็ดแป้งและผลึกแคลเซียมออกซาเลต รวมไปถึงกายวิภาคของรากมีการจัดเรียงตัวของเนื้อเยื่อเหมือนกันทุกชนิด โดยพบพีโลตอนของเชื้อราในชั้นคอร์เทกซ์ของรากนางอั้วทุกชนิด กายวิภาคของช่อดอกมีการจัดเรียงตัวของเนื้อเยื่อเหมือนกันทุกชนิด สำหรับกายภาคของใบมีการจัดเรียงตัวของเนื้อเยื่อและมีรูปร่างของปากใบแบบ anomocytic stomata เหมือนกันทุกชนิด แต่มีค่าดัชนีปากใบของนางอั้วคางยาว เอื้องหอมเตย และเอื้องลิ้นมังกร แตกต่างกันอย่างนัยสำคัญทางสถิติคือ 25.30±1.04 13.82±0.70 และ 11.03±0.27 ตามลำดับ
References
Pedersen, H. Æ., Kurzweil, H., Sudee, S. & Cribb, P. (2011). Orchidaceae 1 (Cypripediodeeae, Orchidoideae, Vaniloideae). Flora of Thailand, 12(1), 1-302.
Kurzweil, H. (2009). A New Species of Habenaria (Orchidaceae) from Southeast Asia. Gardens’ Bulletin Singapore, 60(2), 373-379.
Makerd, W. Kurzweil, H., Chansuk, U. & Sanpote, P. (2013). A new species of Habenaria (Orchidaceae) from Uthai Thani province, Thailand. Thai Journal of Botany, 5(1), 77-81.
พฤกษ์ คงสวัสดิ์ (2556). ศักยภาพกล้วยไม้สกุลนางอั้วในเชิงการค้า. แก่นเกษตร, 41(ฉบับบพิเศษ 1), 290-296.
Rawat, S., Jugran, A.K., Bahukhandi, A., Bahuguna, A., Bhatt, I.D., Rawal, R. S. & Dhar, U. (2016). Anti-oxidant and anti-microbial properties of some ethno-therapeutically important medicinal plants of Indian Himalayan Region. 3 Biotech, 6(2), 154. doi: 10.1007/s13205-016-0470-2
Giri, L., Jugran, A.K., Bahukhandi, A., Dhyani, P., Bhatt, I.D., Rawal, R.S., Nandi, S. K. & Dhar, U. (2017). Population genetic structure and marker trait associations using morphological, phytochemical and molecular parameters in Habenaria edgeworthii—a threatened medicinal orchid of west Himalaya, India. Applied Biochemistry and Biotechnology, 181,267–282. doi 10.1007/s12010-016-2211-8
อนุสิทธิ์ ชีช้าง และ จรัล ลีรติวงศ์ (2562). การศึกษาเบื้องต้นเนื้อเยื่อชั้นผิวใบของพืชวงศ์มะดูกบางชนิดในประเทศไทย, 11(2), 113-127.
Stren, W.L. (1997). Vegetative anatomy of subtribe Habenariinae (Orchidaceae). Botanical Journal of the Linnean Society, 125(3), 211-227.
Danget, B.T. & Gurav, R.V. (2016). Stomatal studies in the genus Habenaria (Orchidaceae). Richardiana, 16, 232-240.
Muangsan, N., Saensouk, P., Chanokkhun, T. & Watthana, S. (2022). Comparative leaf epidermis study in Habenaria spp. (Orchidaceae) from Thailand. Biodiversitas Journal of Biological Diversity, 23(8), 4159-4168.
Hegde, S. & Krishna, k. (2020). Comparative leaf anatomy of some species of Habenaria wild (Orchidaceae). Authorea, June 25, 2020. doi: 10.22541/au.159309952.20873051
Royer, D.L. (2001). Stomatal density and stomatal index as indicators of paleoatmospheric CO2 concentration. Review of Paleobotany and Palynology, 114, 1-28.
Calderaa, H.I.U., De Costab, W.A.J.M., Woodwardc, F.I., Lakecand, J.A. and Ranwala, S.M.W. (2017). Effects of elevated carbon dioxide on stomatal characteristics and carbon isotope ratio of Arabidopsis thaliana ecotypes originating from an altitudinal gradient. Physiologia Plantarum, 159, 74–92.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสาร มรภ.กพ. วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร มรภ.กพ. วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี
ข้อคิดเห็นใดๆ ที่ปรากฎในวารสารเป็นวรรณกรรมของผู้เขียนโดยเฉพาะ ซึ่งมหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชรและบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย