ประสิทธิภาพการตัดผิวเหล็กอุตสาหกรรมด้วยเครื่องกัดซีเอ็นซีขนาดเล็ก

Main Article Content

อดุลย์ พุกอินทร์
สิทธินันท์ ทองศิริ
ปริญญา ดีรัศมี
ทัศนัย บุญมา
บดินทร์ อยู่ยืน
ปธานิน อยู่เป็นสุข
รพีพล แซ่ฉิน

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้เพื่อหาประสิทธิภาพของการกัดเหล็กอุตสาหกรรมเกรด SS41 บนเครื่องกัด Milling mini CNC มีวัตถุประสงค์ เพื่อออกแบบการทดลองเชิงแฟกทอเรียล และเพื่อเปรียบเทียบผลการทดลองประสิทธิภาพของดอกกัดชนิด A และดอกกัดชนิด B ที่มีการทดลอง เพื่อเปรียบเทียบผลการทดลองของระดับปัจจัย 3 ปัจจัย คือ ความเร็วรอบดอกกัด ชุดความเร็วรอบของแกน X, Y และ Z ระยะป้อนลึกการกัดชิ้นงาน และมีการออกแบบเชิงแฟกทอเรียลแบบ 23  วิเคราะห์ผลด้วยวิธี ANOVA แบบ 2 ทาง และหาค่าปฏิสัมพันธ์ระหว่างทรีทเมนต์ A และทรีทเมนต์ B โดยตั้งสมมติฐาน 2 สมมติฐาน จากการวิจัย พบว่า สมมติฐานที่ 1 ดอกกัดชนิด A กับดอกกัดชนิด B ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 โดยค่า F เปิดตารางค่าวิกฤต เท่ากับ 5.59 จากการคำนวณ 3.72 ซึ่งแสดงขอบเขตยอมรับ   และสมมติฐานที่ 2 ความเร็วรอบดอกกัด ชุดความเร็วรอบของแกน X, Y, Z และระยะป้อนลึกของการกัดชิ้นงาน ได้ค่า F เปิดตารางค่าวิกฤตเท่ากับ 3.79 จากการคำนวณ 39,244.550 ซึ่งบอกได้ว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 โดยค่า f จากการคำนวนอยู่ในขอบเขตปฏิเสธ  ยอมรับ  และจากผลการตรวจสอบความหยาบผิวนำมาหาค่าคำตอบความเหมาะสมโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป พบว่า การปรับตั้งความเร็วรอบที่ใช้ในการกัดดีที่สุดของดอกกัดชนิด A และดอกกัดชนิด B คือ 1,600 รอบ/นาที เป็นค่าที่เหมาะสมที่สุดในการกัดชิ้นงานเหล็ก SS41

Article Details

How to Cite
พุกอินทร์ อ., ทองศิริ ส. ., ดีรัศมี ป. ., บุญมา ท. ., อยู่ยืน บ. ., อยู่เป็นสุข ป. ., & แซ่ฉิน ร. . (2024). ประสิทธิภาพการตัดผิวเหล็กอุตสาหกรรมด้วยเครื่องกัดซีเอ็นซีขนาดเล็ก. วารสารเทคโนโลยีและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์, 7(1), 25–39. สืบค้น จาก https://ph03.tci-thaijo.org/index.php/JTI_URU/article/view/1986
บท
บทความวิจัย

References

จักรินทร์ กลั่นเงิน, และอนุเชษฐ์ พลเยี่ยม. (2558). การควบคุมคุณภาพกระบวนการผลิตเนื้อสบู่เหลวด้วยการ

ออกแบบการทดลองเชิงแฟคทอเรียล. วิศวกรรมสารเกษมบัณฑิต. 5(1): 1-12.

ปารเมศ ชุติมา. การออกแบบการทดลองทางวิศวกรรม, พิมพ์ครั้งที่ 1, สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลัย, 2545.

สมมาตร พรหมพุฒ และนพรุจ เขียวนาค. (2565). การพัฒนาระบบควบคุมเครื่องกัดซีเอ็นซีขนาดเล็ก โดยใช้

เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง. วารสารวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและวิศวกรรม มหาวิทยาลัย

ราชภัฏพิบูลสงคราม. 14(1): 1-14.

สมศักดิ์ แก่นทอง, ศิวกร อ่างทอง, อนันต์ วงศ์กระจ่าง, และสญชัย เข็มเจริญ. (2550). การวิเคราะห์การ

ออกแบบเครื่องกัดรอบสูงควบคุมด้วยระบบ CNC. (รายงานการวิจัย). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี

ราชมงคลธัญบุรี.

A. Jankovic, G. Chaudhary and F. Goia. (2021). Designing the design of experiments (DOE) – An

investigation on the influence of different factorial designs on the characterization of

complex systems. Energy and Buildings. 250: 111298.

A. N. Mustapha, Y. Zhang, Z. Zhang, Y. Ding, Q. Yuan and Y. Li. (2021). Taguchi and ANOVA

analysis for the optimization of the microencapsulation of a volatile phase change

material. Journal of Materials Research and Technology. 11: 667-680.

H. K. Hwang and S. J. Kim. (2023). Investigation on the effective factor calculation of

electropolishing using full factorial design and mechanism model by microscopic analysis

for super austenitic stainless steel, Surfaces and Interfaces. 37: 102730.

P. Arunkumar, N. Muthukumaran, M. M. Samyb, L. Prabhu and R. Rajeshwari. (2021).

Investigation on the effect of process parameters in abrasive Jet Machining process using

full factorial design, International Conference on Sustainable materials, Manufacturing

and Renewable Technologies. 47(15): 5395-5400.

R.H. Myers and D.C. Montgomery. (2018). Response Surface Methodology: Process and

product optimization using designed experiments, John Wiley & Sons, New York.