เครื่องย่างไร้ควันอัตโนมัติ
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบและสร้างเครื่องย่างไร้ควันอัตโนมัติแบบควบคุมด้วยระบบ Internet of Things (IoT) เครื่องย่างไร้ควันอัตโนมัติสามารถสั่งเปิด-ปิด อัตโนมัติผ่านแอพพลิเคชั่น Blynk.สามารถรายงานสถานะการทำงานควบคุมด้วยระบบทำงานโดยเซนเซอร์ตรวจวัดอุณหภูมิ และมอเตอร์ควบคุมความเร็ว ผลควบคุมปรับค่าอุณหภูมิและความเร็วของมอเตอร์ จะส่งสัญญาณไปหา MCU ESP 32 ประมวลผลและแสดงค่าผ่านแอพพลิเคชั่น Blynk และหาประสิทธิภาพและความพึงพอใจ
การทดสอบประสิทธิภาพเพื่อหาความแม่นยำ การทดลองหาประสิทธิภาพ โดยการใช้งานเครื่องย่างไร้ควันอัตโนมัติ ปรับค่าอุณหภูมิที่ต้องการ.และทดลองกับวัตถุดิบแบ่งออกเป็น 3 ชนิด.ทดลอง 4 ครั้ง.จะได้ความแม่นยำในการย่างของวัตถุดิบแต่ละชนิดเท่ากับ.100%.ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจผู้ใช้งานเท่ากับ 4.50 มีความเหมาะสมในระดับมาก ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานมีค่าเท่ากับ 0.28 มีความสอดคล้องกันมาก
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
จีราวุธ วารินทร์. (2561). Arduino Uno พื้นฐานสำหรับงาน IOT. กรุงเทพ: รีไวว่า.
ชัชชัย คุณบัว. (2562). IoT: สถาปัตยกรรมการสื่อสาร Internet of Things. กรุงเทพ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
ไชยชาญ หินเกิด. (2560). มอเตอร์ไฟฟ้าและควบคุม. กรุงเทพ: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).
ณัฐพงศ์ พลสยม, กาญจนา ดงสงคราม, และเกียรติภูมิ กุภาพันธ์. (2562). การพัฒนาระบบปลั๊กไฟอัจฉริยะควบคุมผ่านพลิเคชั่นแบบสมองกลฝังตัว. วารสารวิชาการการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ, 5(2), 84-93.
ดอนสัน ปงผาบ, อภิศักดิ์ พรหมฝาย, พีรพล จันทร์หอม. (2565). IoT เบื้องต้นบน NodeMCU. กรุงเทพ: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).
บัณฑิตพงษ์ ศรีอำนวน, สราวุธ แผลงศร, วีระสิทธิ์ ปิติเจริญพร, พิมพ์ใจ สีหะนำม. (2562). การออกแบบระบบสมาร์ทฟาร์มโดยใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งสำหรับมะนาว จังหวัดเพชรบุรี. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาลัยนครราชสีมา ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2562 “สังคมผู้สูงวัย: โอกาสและความท้าทายของอุดมศึกษา” (น. 808-816). นครราชสีมา: วิทยาลัยนครราชสีมา.
วิศรุต ศรีรัตนะ. (2554). เซนเซอร์และทรานสดิวเซอร์ในงานอุตสาหกรรม. กรุงเทพ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
ศรีรุ่ง แก้วไพทูรย์, และสมชาย เล็กเจริญ. (2561). ระบบควบคุมห้องเรียนอัจฉริยะด้วย Internet of Things (IoT) ผ่าน Android และ IOS. ใน การประชุมนำเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา ครั้งที่ 13 ปีการศึกษา 2561 (น.2839-2852). ปทุมธานี: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรังสิต.
อภิรักษ์ พันธุ์พณาสกุล, ฟิตรี ยะปา, และอัลนิสฟาร์ เจะดือราแม. (2561). การพัฒนาระบบเปิด-ปิดไฟด้วยไมโครเซนเซอร์ควบคู่กับแอพพลิเคชั่นบนสมาร์ทโฟน. ใน การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 11 (น.994-1012). สงขลา: มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.