การประเมินการขาดดุลน้ำชลประทานต่อการผลิตข้าวโพดหวาน

Main Article Content

ชาญณรงค์ ตั้งคณาทรัพย์
สมชาย ดอนเจดีย์

บทคัดย่อ

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลกระทบของผลผลิตข้าวโพดหวาน ภายใต้สถานการณ์น้ำที่มีอยู่อย่างจำกัด โดยทำการทดลองแบบสุ่มตลอด (CRD) จำนวน 4 กรรมวิธี (I100: ให้น้ำ 100% เท่าความสามารถในการอุ้มน้ำได้ของดิน, I85: ลดปริมาณการให้น้ำลง 15%, I70: ลดปริมาณการให้น้ำลง 30% และ I55: ลดปริมาณการให้น้ำลง 45%) ทำทั้งหมดในฤดูปลูก 2 ฤดู ที่ศูนย์วิจัยข้าวโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติ พบว่า การลดปริมาณการให้น้ำชลประทานส่งผลกระทบต่อผลผลิตข้าวโพดหวาน ซึ่งการให้น้ำแก่ข้าวโพดในกรรมวิธี I100 ให้ผลผลิตข้าวโพดหวานสูงสุด (1,620 และ 1902 กิโลกรัมต่อไร่) ทั้ง 2 ฤดูปลูก และการลดปริมาณการให้น้ำในกรรมวิธี I85 ทำให้ผลผลิตข้าวโพดหวานลดลง แต่ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ กับกรรมวิธี I100 อย่างไรก็ตาม กรรมวิธี I70 ก็เป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการผลิตข้าวโพดหวานในพื้นที่มีน้ำชลประทานจำกัดได้ ถึงแม้ให้ผลผลิตข้าวโพด หวานเฉลี่ยลดลง 22.9% แต่คุณภาพของข้าวโพดหวานทั้งขนาดฝัก และความหวาน ยังคงอยู่ในเกณฑ์ตามลักษณะประจำพันธุ์ของข้าวโพดหวาน

Article Details

บท
สาขาวิศวกรรมศาสตร์ (Engineering)

References

กรมชลประทาน. (2554). คู่มือการหาปริมาณการใช้น้ำของพืช ปริมาณการใช้น้ำของพืชอ้างอิงและค่าสัมประสิทธิ์พืช. กรุงเทพฯ:สำนักอุทกวิทยาและบริหารน้ำ กรมชลปะทาน.

ชาญณรงค์ ตั้งคณาทรัพย์, สุขสันต์ พันธ์ทอน, กิตติศักดิ์ ศรีชมพร และเอกสิทธิ์ โฆสิตสกุลชัย. (2553). การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวโพดหวานฝักสดโดยการจัดการบริหารตารางการให้น้ำที่เหมาะสมในโครงการการพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมะสมเพื่อการผลิตและการใช้ประโยชน์ข้าวโพดหวานให้ได้ผลผลิตคุณภาพอย่างยั่งยืน. (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ.

โชคชัย เอกทัศนาวรรณ, สรรเสริญ จำปาทอง และนพพงศ์ จุลจอหอ. (2544). ข้าวโพดหวานลูกผสมเดี่ยวพันธุ์อินทรี 2. ครบรอบสิบปี สถาบันอินทรีจันทรสถิตย์เพื่อการค้นคว้าและพัฒนาพืชศาสตร์. กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

Allen, R.G., L.S. Pereira, D. Raes and M. Smith. (1998). Crop Evapotranspiration: Guidelines for Computing Crop Requirements. FAO Irrigation and Drainage Paper No.56. Rome: Food and Agriculture Organization of the United Nations (FAO).

Dean, D.S., E.C. Stegman. and R.E. Knighton. (2000). Irrigation management for corn in the northern Great Plains. Irrigation Science. 19, 107 – 114. doi:10.1007/PL00006709.

Ertek, A. and Kara, B. (2013). Yield and quality of sweet corn under deficit irrigation. Agricultural Water Management.129, 138 – 144. doi: 10.1016/j.agwat.2013.07.012.

Jose´, O.P., N.L. Klocke, J.P. Schneekloth and D.R. Davison. (2006). Comparison of irrigation strategies for surface-irrigated corn in West Central Nebraska. Irrigation Science. 24, 257 – 265. doi:10.1007/s00271-005-0026-4.

Jonghan, K. and Piccinni, G. (2009). Corn yield responses under crop evapotranspiration-based irrigation management. Agricultural Water Management. 96, 799 – 808. doi: 10.1016/j.agwat.2008.10.010.

Luis, S.P. (1999). Higher performance through combined improvements in irrigation methods and scheduling: a discussion. Agricultural Water Management. 40, 153–169.doi:10.1016/S0378-3774(98)00118-8.

Oktem, A. (2008). Effect of Deficit Irrigation on Some Yield Characteristics of Sweet Corn. Bangladesh Journal of Botany. 37(2), 127 – 131. doi:10.3329/bjb.v37i2.1718.

Qu, S.L., L.S. Willardson., W. Denga., X.J. Li. and C.J. Liu. (2005).Crop water deficit estimation and irrigation scheduling in western Jilin province, Northeast China. Agricultural Water Management. 71, 47 – 60. doi:10.1016/j.agwat.2004.07.003.

Salah E. El-Hendawy and Urs Schmidhalter. (2010). Optimal coupling combinations between irrigation frequency and rate for drip-irrigated maize grown on sandy soil. Agricultural Water Management. 97, 439 – 448. doi:10.1016/j.agwat.2009.11.002.