การผลิตไบโอชาร์จากกะลามะพร้าวและศักยภาพในการส่งผลต่อการปรับปรุงคุณภาพดินเพื่อการเพาะปลูกต้นมะเขือม่วง

ผู้แต่ง

  • ฌานิกา แซ่แง่ ชูกลิ่น ผศ. ดร., คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง จังหวัดตรัง 92150
  • กัตตินาฎ สกุลสวัสดิพันธ์ อาจารย์, คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง จังหวัดตรัง 92150
  • นฤทธิ์ กล่อมพงศ์ อาจารย์, คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง จังหวัดตรัง 92150
  • วรางคณา เพ็ชร์แก้ว นักศึกษา, คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง จังหวัดตรัง 92150
  • ศศิวิมล พรหมคีรี นักศึกษา, คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง จังหวัดตรัง 92150
  • ภาวินี ตกจีนต้อง ผู้ช่วยวิจัย, คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง จังหวัดตรัง 92150

DOI:

https://doi.org/10.55164/jgrdi.v1i1.717

คำสำคัญ:

ไบโอชาร์, การเจริญเติบโต, วัสดุปรับปรุงดิน

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้ศึกษาการผลิตไบโอชาร์จากกะลามะพร้าว คุณสมบัติทางกายภาพและเคมีของไบโอชาร์และศักยภาพในการส่งผลต่อการปรับปรุงคุณภาพดินเพื่อการเพาะปลูก ผลการศึกษาพบว่า คุณสมบัติทางกายภาพและเคมีของไบโอชาร์จากกะลามะพร้าวโดยไบโอชาร์ที่ผลิตได้มีค่าพีเอชเท่ากับ 8.10 โดยพื้นผิวของไบโอชาร์จากกะลามะพร้าวมีลักษณะเป็นรูพรุน เกิดเป็นช่องว่างจำนวนมาก จากการทดสอบปริมาณอินทรียวัตถุพบว่ามีปริมาณร้อยละ 62.10 สำหรับการทดสอบประสิทธิภาพของไบโอชาร์ที่ผลิตได้ต่อการเจริญเติบโตของต้นมะเขือม่วง โดยทำการศึกษาอัตราส่วนดินต่อไบโอชาร์พบว่าที่อัตราส่วนที่ 1:1 มีการเจริญเติบโตของต้นมะเขือม่วงสูงสุดร้อยละ 90.00 รองลงมาคืออัตราส่วน 0.5:1.5 มีการเจริญเติบโตของต้นมะเขือม่วงร้อยละ 74.40 เมื่อเปรียบเทียบกับอัตราส่วนที่ 2:0 ชุดการทดลองที่ไม่ใส่ไบโอชาร์จากกะลามะพร้าว มีการเจริญเติบโตของต้นมะเขือม่วงเพียงร้อยละ 53.03 เห็นได้ชัดว่าไบโอชาร์จากกะลามะพร้าวมีศักยภาพเพื่อใช้ในการปรับปรุงคุณภาพดินเพื่อการเจริญเติบโตของต้นมะเขือม่วง

References

Ding, Y. L., Liu, J. & Wang, Y. Y. (2013). Effects of biochar on microbial ecology in agriculture soil: A review. Chinese Journal of Applied Ecology, 24(11), 3311–3317.

Lehmann, J. & Joseph, S. (2009). Biochar for environmental management: Science and technology. Sterling, VA: Earthscan.

Ren, S., Lei, H., Wang, L., Bu, Q., Chen, S. & Wu, J. (2014). Hydrocarbon and hydrogen-rich syngas production by biomass catalytic pyrolysis and bio-oil upgrading over biochar catalysts. RSC Advances, 4(21), 10731–10737. https://doi.org/10.1039/C4RA00122B

Ayodele, A., Oguntunde, P., Joseph, A. & Junior, M. S. D. (2009). Numerical analysis of the impact of charcoal production on soil hydrological behavior, runoff response and erosion susceptibility. Revista Brasileira de Ciência do Solo, 33(1), 137–145. https://doi.org/10.1590/S0100-06832009000100015

Laird, D., Fleming, P., Wang, B., Horton, R. & Karlen, D. (2010). Biochar impact on nutrient leaching from a midwestern agricultural soil. Geoderma, 158(3), 436–442. https://doi.org/10.1016/j.geoderma.2010.05.012

Bruun, E..W. (2011). Application of fast pyrolysis biochar to a loamy soil- effects on carbon and nitrogen dynamics and potential for carbon sequestration [Doctoral’s thesis, Technical University of Denmark]. Technical University of Denmark Library.

Dittakit, P., Singkham, J., Viriyasuthee, W., & Sangmanee, K. (2023). Properties of biochar from coconut waste and application in agriculture. ASEAN Journal of Scientific and Technological Reports, 26(1), 52-58. https://doi.org/10.55164/ajstr.v26i1.247574

Jien, S.H. & Wang, C.S. (2013). Effects of biochar on soil properties and erosion potential in a highly weathered soil. Catena, 110, 225-233. https://doi.org/10.1016/j.catena.2013.06.021

Chaichan W., Chaichan W, & Chooklin, C.S. (2019). Production of biochar from agricultural waste for soil improvement. (Research report). Trang : Rajamangala University of Technology Srivijaya Trang Campus.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

09/18/2023

How to Cite

ชูกลิ่น ฌ. แ., สกุลสวัสดิพันธ์ ก., กล่อมพงศ์ น., เพ็ชร์แก้ว ว., พรหมคีรี ศ., & ตกจีนต้อง ภ. (2023). การผลิตไบโอชาร์จากกะลามะพร้าวและศักยภาพในการส่งผลต่อการปรับปรุงคุณภาพดินเพื่อการเพาะปลูกต้นมะเขือม่วง. วารสารบัณฑิตวิจัย พัฒนาและนวัตกรรม, 1(1), 42–52. https://doi.org/10.55164/jgrdi.v1i1.717