การพัฒนาระบบแนะนำที่จอดรถโดยใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของทุกสรรพสิ่ง
DOI:
https://doi.org/10.14456/jeit.2023.14คำสำคัญ:
อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง , อุปกรณ์ควบคุมขนาดเล็ก, เซ็นเซอร์วัดระยะทางบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้เป็นการพัฒนาระบบแนะนำที่จอดรถโดยใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง (Internet of Things : IoT) ทั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการที่จอดรถ และประเมินผลของระบบนี้ ขั้นตอนการดำเนินงานดังนี้ การออกแบบและจัดทำฮาร์ดแวร์ การกำหนดรูปแบบการทำงานของระบบ การพัฒนาซอฟต์แวร์ การทดสอบ และการติดตั้งระบบ ผลการดำเนินงานแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ดังนี้ 1) ผลจากการพัฒนาระบบ ซึ่งผู้ใช้งานสามารถเข้าดูตำแหน่งช่องจอดรถว่างผ่านแอปพลิเคชัน Blynk หากมีรถจอด เซนเซอร์วัดระยะจำทำการตรวจจับการเข้าจอดของรถ และส่งข้อมูลไปยัง nodeMCU ซึ่งจะอัพเดตสถานะในแอปพลิเคชัน Blynk แสดงว่าช่องจอดนั้นไม่ว่าง และ 2) ผลการประเมินประสิทธิภาพระบบของผู้เชี่ยวชาญ มีค่าเฉลี่ยโดยรวมเท่ากับ 4.03 อยู่ในระดับดี
Downloads
References
[1] พงษ์ประภัทร ชูหิรัญญ์วัฒน์, กรรธร เอมนุกูลกิจ, และ สุวัฒน์ สวนทรง, "การศึกษาและออกแบบแบบจำลองลานจอดรถอัจฉริยะ," สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี, 2557.
[2] ภาสกร พาเจริญ, "พัฒนา IoT บนแพลตฟอร์ม Arduino ด้วย NodeMCU.," บริษัท โปรวิชั่น จำกัด, 2562.
[3] พีรภัทร ใสสกุล เกรียงไกร สว่างวงศ์, วรเทพ ศรีแสงยศ, อนุศิษฐ์ ทิพย์ภูนอก และ นัฐพงศ์ ส่งเนียม, "การพัฒนาระบบจองที่จอดรถอัจฉริยะโดยใช้ เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง," วารสารวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, vol. 2, no. 1, pp. 57-68, ม.ค.-มิ.ย. 2563.
[4] มโนรส บริรักษ์อราวินท, จีรวัฒน์ นาคสุวรรณ, ชวัลรัตน์ ศรีนวลปาน, และ บุญนิภา เกี้ยวม่าน., "อินเทอร์เน็ตทุกสรรพสิ่ง กรณีศึกษา:ระบบลานจอดรถอัจฉริยะ," in The fifteenth national conference on computing and information technology, 2019, pp. 36-41.
[5] แสงดาว ออนดาลา, "ระบบบริหารลานจอดรถอัจฉริยะ," สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ, มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 2561.
[6] มัลลิกา บุนนาค, "สถิติเพื่อการวิจัยและตัดสินใจ," จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ, 2548.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
หมวดหมู่
License
Copyright (c) 2023 วารสารวิศวกรรมและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ลิขสิทธิ์ของวารสาร
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทยก่อนเท่านั้น