การออกแบบและศึกษาระบบรดน้ำต้นกระบองเพชรอัตโนมัติพลังงานแสงอาทิตย์
คำสำคัญ:
โซล่าเซลล์, สมาร์ทโฟนแอพพลิเคชั่น, ระบบรดน้ำ, ต้นกระบองเพชรบทคัดย่อ
โครงงานนี้เป็นการศึกษาและออกแบบระบบรดน้ำต้นกระบองเพชรอัตโนมัติพลังงานแสงอาทิตย์ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่ออำนวยความสะดวกให้เกษตรกรผู้ปลูกกระบองเพชร และสามารถวัดความชื้นของดินได้ นอกจากนั้นยังสามารถสั่งเปิด-ปิดน้ำผ่านสมาร์ทโฟนแอพพลิเคชั่น BLYNK SERVER ได้ และไม่จำเป็นต้องเข้าสวนบ่อยครั้งไม่ว่าจะอยู่ที่ไหนที่มีสัญญาณอินเตอร์เน็ต และยังเป็นการนำเอาไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ผ่านโซล่าเซลล์มาปรับใช้ในการทำโครงงานนี้ด้วย การทดลองของตัวระบบจากการออกแบบสอบถามความพึงพอใจของการด้านการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลในระบบมีค่าเฉลี่ย 4.22 อยู่ในเกณฑ์ดีมาก ผลการตอบแบบสอบถามด้านคุณภาพของตัวระบบมีค่าเฉลี่ย 4.83 อยู่ในเกณฑ์ดีมากที่สุด ผลของการการทำงานตามฟังก์ชันการทำงานมีค่าเฉลี่ย 4.60 อยู่ในเกณฑ์ดีมากที่สุด ผลการทดสอบพบว่า การทำงานของตัวระบบรดน้ำต้นกระบองเพชรอัตโนมัติพลังงานแสงอาทิตย์มีการแสดงค่าที่วัดออกมาได้อย่างแม่นยำ และสั่งเปิด-ปิดน้ำผ่านแอพพลิเคชั่น Blynk ได้อย่างแม่นยำ ทำให้ทำงานตามจุดประสงค์ที่ผู้ทดสอบตั้งไว้ตามเป้าหมาย
Downloads
References
[1] รัชฎาพร อุนศิวิไลย, ฤทธิ์ทางชีวภาพ ชีวปริมาณออกฤทธิ์ และการเขาถึงชีวภาพของสารสกัดกระบองเพชร. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี, 2555
[2] อดิศร กระแสชัย, การคัดเลือกพันธุแคคตัสสําหรับการปลูกเลี้ยงบนที่สูง. มูลนิธิิโครงการหลวง, 2550.
[3] ภวพล ศุภนันทนานนท์, รวมพันธุ์ใหม่แคคตัสและไม้อวบน้ำ.สำนักพิมพ์บ้านและสวน, 2562.
[4] ภัคพงษ์ อุบลเลิศ และโชคชัย ลิ้มประเสริฐ, เครื่องวัดความชื้นในดิน. ปริญญานิพนธ์. มหาวิทยาลัยสยาม, 2561.
[5] ภาคภูมิ พันธุขันธ์, การพัฒนาอุปกรณ์วัดค่าความชื้นในดินด้วยวิธีเก็บประจุไฟฟ้า แบบหลายระดับ. ปริญญานิพนธ์. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2565.
[6] สุปรียา มะโนมั่น และไพสิฐ มูลเพิ่ม, เครื่องรดน้ำต้นไม้อัตโนมัติ. ปริญญานิพนธ์วิศวกรรมศาสตร
บัณฑิต. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี; 2553.
[7] คณุตฆ์ แซ่ม้า และสุรชัย แซ่จ๋าว, ระบบรดน้ำแปลงผักอัตโนมัติ. ปริญญานิพนธ์อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ; 2561.
[8] นราธิป ทองปาน และ ธนาพัฒน์เที่ยงภักดิ์, ระบบรดน้ำอัตโนมัติผ่านเครือข่ายเซ็นเซอร์ไร้สาย.
วารสารวิชาการการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 2559. 3[1]: p.35-43.
[9] อาทิตยา แน่นแหน้, เอกราช พรนราหัสดีกุล, ณัฐกิตติ์ จินา และสัญฌา พันธุ์แพง, ระบบรดน้ำกระเทียมอัตโนมัติด้วยพลังงานแสงอาทิตย์และควบคุมผ่านสมาร์ทโฟน. เอกสารการประชุมวิชาการระดับชาติวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ครั้งที่ 1; 2564: p.1-8.
[10] กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน, การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์. เข้าถึงเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2565, https://webkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/คู่มือการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ BLN_0.pdf
[11] สุวิทย์ กิระวิทยา และคณะ, การใช้งานไมโครคอนโทรลเลอร์และเซนเซอร์ในการสร้างนวัตกรรม. บริษัท ไทยบริดจสโตน จำกัด, 2562
[12] กฤษฎา แก้วผุดผ่อง, โสมมรัศมิ์ พิบูลย์มณี และปิยวัฒน์ ชวนวาร, การพัฒนาระบบตรวจวัดอุณหภูมิห้องเซิร์ฟเวอร์ด้วยเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตเพื่อสรรพสิ่ง. การประชุมวิชาการระดับชาติ PULINET ครั้งที่ 10. มหาวิทยาลัยทักษิณ, 2563.
[13] บุญฤทธิ์ ภู่พิพัฒน์ และมงคลธรรม สุดใจ, อุปกรณ์แจ้งเตือนความผิดปกติของเครื่องจักรผ่านแอปพลิเคชั่นไลน์ V.2 . วิทยาลัยเทคนิคจันทบุรี, 2563.
[14] เดชฤทธิ์ มณีธรรม, คัมภีร์การใช้งาน ไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino. บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน), 2560.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
หมวดหมู่
License
Copyright (c) 2023 วารสารวิศวกรรมและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ลิขสิทธิ์ของวารสาร
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทยก่อนเท่านั้น