การเปรียบเทียบการจัดเส้นทางการขนส่งด้วยวิธีอัลกอริทึมแบบประหยัดและวิธีเพื่อนบ้านใกล้ที่สุด: กรณีศึกษาโรงน้ำดื่มภูเพชร อำเภอภูกระดึง จังหวัดเลย
DOI:
https://doi.org/10.14456/jeit.2025.3คำสำคัญ:
การจัดเส้นทางการขนส่ง, อัลกอริทึมแบบประหยัด, เพื่อนบ้านใกล้ที่สุด, การเพิ่มประสิทธิภาพโลจิสติกส์, การลดต้นทุนขนส่งบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดเส้นทางรูปแบบเดิมและนำมาวิเคราะห์เปรียบเทียบการจัดเส้นทางรูปแบบใหม่ เพื่อให้สามารถลดต้นทุนการขนส่งได้ การดำเนินการวิจัยเริ่มจากการรวบรวมข้อมูลเส้นทางขนส่งที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน จากนั้นทำการวิเคราะห์และคำนวณเส้นทางโดยใช้วิธีอัลกอริทึมแบบประหยัดและวิธีการเพื่อนบ้านใกล้ที่สุด เพื่อนำผลลัพธ์ที่ได้มาเปรียบเทียบกัน จากผลการวิจัยพบว่า ในการจัดเส้นทางการขนส่งน้ำดื่มในหนึ่งสัปดาห์ โดยเส้นทางรูปแบบเดิมมีจำนวนเส้นทาง 14 เส้นทาง ระยะทางรวม 413.1 กิโลเมตร และต้นทุนรวมในการขนส่ง 1,659.84 บาทต่อสัปดาห์ ขณะเดียวกันการใช้อัลกอริทึมแบบประหยัดสามารถลดจำนวนเส้นทางลงเหลือ 12 เส้นทาง ระยะทางรวมลดลงเหลือ 333 กิโลเมตร และต้นทุนรวมในการขนส่ง 1,459.17 บาทต่อสัปดาห์ ส่วนวิธีเพื่อนบ้านใกล้ที่สุดสามารถลดจำนวนเส้นทางลงเหลือ12 เส้นทาง ระยะทางรวมลดลงเหลือ 354 กิโลเมตร และต้นทุนรวมในการขนส่ง 1,652.41 บาทต่อสัปดาห์
References
[1] กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, คู่มือมาตรฐานน้ำดื่มประเทศไทย, นนทบุรี: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด, 2561.
[2] จารุพงษ์ บรรเทา, ปวีณา อาสาชาติ และ สุจิตรา สรภูมิ, "การวิเคราะห์ฮิวริสติกส์สำหรับการประยุกต์ในการจัดเส้นทางรับส่งนักเรียน," วารสารเทคโนโลยีการผลิตและการจัดการ, ปีที่ 1, ฉบับที่ 2, หน้า 1-11, 2565.
[3] ฤทัย ล่ำประเสริฐ, "การดูเส้นทางการเดินรอบส่งที่เราในการเดินทางขึ้นอยู่กับช่วงเวลาสำหรับคลังสินค้ารูปแบบครอสด็อก," วิศวกรรมสาร มก., ปีที่ 29, ฉบับที่ 96, หน้า 53-64, 2559.
[4] วศิน ศรีเสน, "การจัดเส้นทางการขนส่งเพื่อการลดต้นทุน กรณีศึกษา บริษัท ทีทีเค โลจิสติกส์ จำกัด," สารนิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, การจัดการโลจิสติกส์, มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย, 2556.
[5] R. Baldacci, A. Mingozzi, and G. Righini, "An exact algorithm for the vehicle routing problem based on a new formulation," Mathematical Programming, vol. 128, no. 2, pp. 505-527, 2012.
[6] วรพล อารีย์ และคณะ, "การแก้ปัญหาการจัดเส้นทางการขนส่ง: กรณีศึกษา บริษัท เอบีซี น้ำดื่ม จำกัด," วารสารเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยทักษิณ, ปีที่ 14, ฉบับที่ 3, หน้า 1-20, 2564.
[7] ภควัต ชุ่มเจริญ, "อัลกอริทึมในการหาเส้นทางที่พิจารณาปริมาณการเข้าคิวของข้อมูลบนระบบเครือข่ายที่กำหนดโดยซอฟต์แวร์," วิทยานิพนธ์วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560.
[8] รวีโรจน์ ป้องทรัพย์, "การจัดเส้นทางขนส่งชิ้นส่วนรถยนต์: กรณีศึกษาบริษัทขนส่งชิ้นส่วนรถยนต์," วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, การจัดการโลจิสติกส์, มหาวิทยาลัยบูรพา, 2564.
[9] ชลิตา มีแสง และคณะ, "การวางแผนการดำเนินงานและปรับปรุงเส้นทางการจัดเก็บขยะมูลฝอยติดเชื้อโดยใช้วิธีเซฟวิ่งอัลกอลิทึม กรณีศึกษา บริษัท ABC จำกัด," วารสารสหศาสตร์ศรีปทุม ชลบุรี, ปีที่ 7, ฉบับที่ 2, หน้า 22-33, 2564.
[10] นวพล เกษมธารนันท์ และ หัตถญา ทิวธง, "การจัดเส้นทางการขนส่งน้ำมันเชื้อเพลิง: กรณีศึกษา บริษัทให้บริการขนส่งน้ำมัน," วารสารสหศาสตร์ศรีปทุม ชลบุรี, ปีที่ 6, ฉบับที่ 2, หน้า 91-98, 2563.
[11] P. Toth and D. Vigo, The Vehicle Routing Problem, SIAM, 2002.
[12] Z. Zhang, B. Wang, B. Danish, and B. Wang, "Renewable energy consumption, economic growth, and human development index in Pakistan: Evidence from a simultaneous equation model," Journal of Cleaner Production, vol. 184, pp. 1081–1090, 2018.
[13] กนกกรรณ์ ลี้โรจนาประภา และคณะ, "การจัดเส้นทางรถเก็บขยะ: กรณีศึกษาเทศบาลตำบลท่าเรือ อำเภอท่าเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา," วารสารวิทยาศาสตร์ลาดกระบัง, ปีที่ 33, ฉบับที่ 1, หน้า 79-102, 2567.
[14] เกศินี สือนิ, "การจัดเส้นทางการขนส่งสินค้าโดยการเปรียบเทียบระหว่างการใช้วิธีเซฟวิ่งอัลกอริทึม และวิธีขั้นตอนวิธีการเพื่อนบ้านใกล้ที่สุด อัลกอริทึม," วารสารเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยทักษิณ, ปีที่ 12, ฉบับที่ 2, หน้า 1-14, 2563.
[15] จารุพงษ์ บรรเทา, ปวีณา อาสาชาติ และ สุจิตรา สรภูมิ, "การวิเคราะห์ฮิวริสติกส์สำหรับการประยุกต์ในการจัดเส้นทางรับส่งนักเรียน," วารสารเทคโนโลยีการผลิตและการจัดการ, ปีที่ 1, ฉบับที่ 2, หน้า 1-11, 2565.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
หมวดหมู่
License
Copyright (c) 2025 วารสารวิศวกรรมและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ลิขสิทธิ์ของวารสาร
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทยก่อนเท่านั้น