การเปรียบเทียบเสียงภาษาไทยสำหรับผู้ต้องการเรียนรู้ภาษาไทย

ผู้แต่ง

  • ชญานิษฐ์ เชี่ยวชาญ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • ทิวาภรณ์ ร่วมทรัพย์ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • ศรัณณ์ลักษณ์ เรียบเรียง สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • สุพาพร บรรดาศักดิ์ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา

DOI:

https://doi.org/10.14456/jeit.2024.9

คำสำคัญ:

ภาษาไทย, เปรียบเทียบเสียงภาษาไทย, โมเดลวิสเปอร์สมอล, ถอดข้อความจากเสียง

บทคัดย่อ

เนื่องจากช่วงหลังมานี้จะเห็นได้ว่ามีผู้คนสนใจเรียนภาษาไทยเพิ่มมากขึ้น และมาจากหลายประเทศทั่วโลก ทำให้ชาวต่างชาติหันมาสนใจเกี่ยวกับภาษาไทยเพิ่มมากยิ่งขึ้น กระแสความสนใจนี้มาพร้อมกับการเปิดอะไรหลาย ๆ อย่างทั้งในโลกดิจิทัล การเปิดพรมแดนในด้านของภาษา การเดินทางที่ง่ายขึ้น การส่งออกสินค้าไปจนถึงการส่งออกละคร ซีรี่ย์ และกระแส soft power ต่าง ๆ วัตถุประสงค์เพื่อให้ชาวต่างชาติที่เข้ามาเรียนรู้ภาษาไทยหรือเข้ามาทำงานในประเทศไทย ได้รู้ว่าตัวเองนั้นพูดภาษาไทยได้ดีและคล้ายคลึงกับเจ้าของภาษามากแค่ไหน จึงทำให้ผู้วิจัยสร้างโมเดลพัฒนาเปรียบเทียบเสียงภาษาไทยสำหรับผู้ที่ต้องการเรียนรู้ภาษาไทย โดยเครื่องมือที่จะนำมาทำการเปรียบเทียบเสียงภาษาไทย ผู้วิจัยใช้โมเดลวิสเปอร์สมอล เป็นการจับคู่เสียงมาเปรียบเทียบเสียงพูดภาษาไทยด้วยความคล้ายของลำดับที่มีความแตกต่างกันในด้านเวลาหรือความเร็ว และมีการถอดข้อความจากเสียงของชาวต่างชาติต้องทำความเข้าใจลักษณะของสัญญาณเสียงในเชิงเวลาและความถี่ เพื่อที่จะใช้ในด้านการทำงานของการสื่อสารและต้องการที่จะฝึกภาษาไทย ซึ่งการออกเสียงภาษาไทยนั้นชาวต่างชาติอาจไม่แน่ใจว่าตนเองพูดได้ชัดเจนหรือคล้ายคลึงกับเจ้าของภาษามากเพียงใด และจากการทดลองที่ผู้วิจัยได้ทำการทดลองได้ผลการวิจัยว่าคำหรือประโยคที่ชาวต่างชาติพูดนั้นนำมาถอดเสียงในโมเดลวิสเปอร์สมอลผลของการถอดเสียงออกมามีความแม่นยำในทางภาษาค่อนข้างสูงมาก

References

[1] ทรูปลูกปัญญา, "ความเป็นมาของภาษาไทย," [ออนไลน์]. Available: https://www. dol.go.th/secretary/Pages/ความเป็นมาของภาษาไทย.aspx. [เข้าถึงเมื่อ: 30 สิงหาคม 2566].

[2] Newtech Insulation, "วิเคราะห์คลื่นความถี่เสียง," [ออนไลน์]. Available: https://noisecontrol365.com/service/Detail/0-6วิเคราะห์คลื่นความถี่เสียง. [เข้าถึงเมื่อ: 17 เมษายน 2567].

[3] The Editors of Encyclopaedia Britannica, "Wavelength," [online]. Available: https://www.britannica.com/science/wavelength. [Accessed: 30 August 2023].

[4] Karthik, "Amplitude of a Wave," [online]. Available: https://byjus.com/physics/amplitude-frequency-period-sound. [Accessed: 30 August 2023].

[5] "What is a Spectrogram?" [online]. Available: https://pnsn.org/spectrograms/what-is-a-spectrogram. [Accessed: 30 August 2023].

[6] Christian Auer and Antonia Korger, "Sound Intensity," [online]. Available: https://www.auersignal.com/en/technical-information/audible-signalling-equipment/sound-intensity. [Accessed: 30 August 2023].

[7] Wikipedia, "ระดับเสียง (pitch)," [ออนไลน์]. Available: https://th.m.wikipedia.org/wiki/ระดับเสียง_(ดนตรี). [เข้าถึงเมื่อ: 17 เมษายน 2567].

[8] ปุณยวัจน์ วรรณคาม, "ผลของการใช้วิธีสอนโฟนิกส์ในการพัฒนาความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4," ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต การค้นคว้าอิสระ, มหาวิทยาลัยนเรศวร, พิษณุโลก, 2564.

[9] Ratmir Belov, "การถอดความ – การแปลงคำพูดเป็นข้อความ," [ออนไลน์]. Available: https://pakhotin.org/th/career/transcription. [เข้าถึงเมื่อ: 31 สิงหาคม 2566].

[10] Looloo Technology, "Thonburian Whisper: โมเดลถอดความจากเสียงพูดภาษาไทย," [ออนไลน์]. Available: https://www.borntodev.com/2022/12/30/thonburian-whisper. [เข้าถึงเมื่อ: 31 สิงหาคม 2566].

[11] Lew, "OpenAI แจกโมเดลปัญญาประดิษฐ์แปลงเสียงเป็นข้อความพร้อมแปลเป็นอังกฤษ รองรับภาษาไทยและเกาหลีด้วย," [ออนไลน์]. Available: https://www.blognone.com/node/130549. [เข้าถึงเมื่อ: 25 ธันวาคม 2566].

Downloads

เผยแพร่แล้ว

30-04-2024

How to Cite

[1]
เชี่ยวชาญ ช. ., ร่วมทรัพย์ ท. ., เรียบเรียง ศ. ., และ บรรดาศักดิ์ ส. ., “การเปรียบเทียบเสียงภาษาไทยสำหรับผู้ต้องการเรียนรู้ภาษาไทย”, JEIT, ปี 2, ฉบับที่ 2, น. 36–47, เม.ย. 2024.