การพัฒนาอุปกรณ์นับจำนวนการชกและการเตะในกีฬาเทควันโดด้วยเซ็นเซอร์ FSR

ผู้แต่ง

  • ชาย นามยี่ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
  • อัครพนธ์ เนื่องเหมย มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
  • มยูร ใยบัวเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย

DOI:

https://doi.org/10.14456/jeit.2024.3

คำสำคัญ:

กีฬาเทควันโด, การฝึกซ้อม, เซ็นเซอร์

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาอุปกรณ์เพื่อนับจำนวนการชก และการเตะของนักกีฬาเทควันโดด้วยบอร์ด Arduino Uno R3 ร่วมกับเทคโนโลยีเซ็นเซอร์ FSR เพื่อใช้ในการฝึกซ้อมทักษะด้านความเร็วในการแข่งขันเทควันโด   การใช้เทคโนโลยีเซ็นเซอร์ในการนับจำนวนครั้งจะช่วยลดปัญหาที่เกิดขึ้นจากความผิดพลาดในการนับจำนวนจากมนุษย์ การพัฒนาอุปกรณ์ดังกล่าวจึงมีความสำคัญอย่างยิ่งในการเตรียมความพร้อมและเสริมสร้างทักษะของนักกีฬาในกีฬา     เทควันโด ผลการทดลองด้วยวิธีการชก และการเตะเป็นจำนวน 10 เซ็ต เซ็ตละ 20 ครั้ง พบว่าอุปกรณ์ต้นแบบที่พัฒนาขึ้น มีความถูกต้องในการนับจำนวนการชกคิดเป็น 94% และการเตะคิดเป็น 91%

References

[1] "Lanna Tae Kwon Do Championship 2023," [Online]. Available: https://www.thannam.net/2016/pic_macth/14092023120545.pdf. [Accessed: 23 February 2023].

[2] กมลเนตร อมรศักดากุล, "การสร้างแบบทดสอบทักษะกีฬาเทควันโดของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามในพระบรมราชินูปถัมภ์," วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ, 2558.

[3] ทศพล บุตรมี และ อาทิตยา จิตจำนงค์, "การจำแนกความผิดพลาดของมนุษย์ด้วยเทคนิค SHERPA: Systematic Human Error Reduction and Prediction Approach," วารสารความปลอดภัยและสุขภาพ, ปีที่ 15, ฉบับที่ 2, 2022.

[4] "ประวัติความเป็นมาของกีฬาเทควันโด," [ออนไลน์]. Available: https://archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2550/sport0650ss_ch2.pdf. [เข้าถึงเมื่อ 4 กุมภาพันธ์ 2566].

[5] "การแข่งขันกีฬาเทควันโดเชียงใหม่โอเพ่น ครั้งที่ 10 ปี 2566," [ออนไลน์]. Available: https://www.thannam.net/2016/match/download.php?id=1974&download=1022023001330.doc. [Accessed: 4 February 2023].

[6] "Arduino® UNO R3," [Online]. Available: https://docs.arduino.cc/resources/datasheets/A000066-datasheet.pdf. [Accessed: 4 February 2023].

[7] ชานน วงศ์เจริญยง และ ภาสวัฒน์ จันทร์สมบูรณ์, "อุปกรณ์ตรวจวัดตำแหน่งแรงกดของฝ่าเท้า," [ออนไลน์]. Available: https://opacimages.lib.kmitl.ac.th/medias/pdf/09016671.pdf. [เข้าถึงเมื่อ 23 กุมภาพันธ์ 2566].

[8] "FSR402 เซนเซอร์วัดแรงกดชั่งน้ำหนัก Force Sensing Resistor," [ออนไลน์]. Available: https://www.arduino4.com/product/685/fsr402-เซนเซอร์วัดแรงกด-ชั่งน้ำหนัก-force-sensing-registor. [เข้าถึงเมื่อ 4 กุมภาพันธ์ 2566].

[9] กฤษดา เพียยุระ และ โรจพล บูรณรักษ์, "ความเชื่อมั่นและความเที่ยงตรงของเครื่องนับจำนวนครั้งและวัดความเร็วการเตะ ในกีฬาเทควันโดที่สร้างขึ้นเองในการทดสอบทักษะการเตะเฉียงในกีฬาเทควันโด สำหรับนักกีฬาเทควันโดระดับเยาวชน," วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, ปีที่ 31, ฉบับที่ 3, 2020.

[10] ศิรินภา น้อยผล, ฉัตรกมล สิงห์น้อย, นฤพนธ์ วงศ์จตุรภัทร, และ สุรีพร อนุศาสนนันท์, "ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการเตะราวน์คิกของนักกีฬาเทควันโดระดับเยาวชน," วารสารสุขศึกษา พลศึกษา และสันทนาการ, ปีที่ 49, ฉบับที่ 1, 2023.

[11] ชนาธิป ซ้อนขำ, "ผลฉับพลันของการให้ผลย้อนกลับและการตั้งเป้าหมายต่อความเร็วในการเตะเฉียงของนักกีฬาเทควันโดทีมชาติไทย," [ออนไลน์]. Available: https://digital.car.chula.ac.th/cgi/viewcontent.cgi?article=2706&context=chulaetd. [เข้าถึงเมื่อ 4 กุมภาพันธ์ 2566].

Downloads

เผยแพร่แล้ว

29-02-2024

How to Cite

[1]
นามยี่ ช., เนื่องเหมย อ., และ ใยบัวเทศ ม., “การพัฒนาอุปกรณ์นับจำนวนการชกและการเตะในกีฬาเทควันโดด้วยเซ็นเซอร์ FSR”, JEIT, ปี 2, ฉบับที่ 1, น. 22–30, ก.พ. 2024.