อิทธิพลทางการศึกษาของประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีที่มีต่อเทคนิคศึกษาของประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • ธงชัย สมบูรณ์ ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

คำสำคัญ:

เทคนิคศึกษา, อิทธิพลทางการศึกษา, ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

บทคัดย่อ

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศถือว่าเป็นลักษณะหนึ่งของสังคมโลกที่ทำให้เกิดการเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้าใจอันดีซึ่งกันและกัน ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศนอกจากจะทำให้เกิดความสัมพันธ์ทางด้านการฑูตแล้วยังทำให้การพัฒนาในมิติอื่นด้วยเช่น มิติทางด้านเศรษฐกิจ มิติทางด้านสังคมและมิติทางด้านการศึกษาด้วย จากประวัติศาสตร์จะเห็นว่าประเทศไทยได้มีความสัมพันธ์กับประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีเป็นเวลานาน ประเทศไทยได้รับอิทธิพลทางด้านวิทยาศาสตร์ ด้านเทคโนโลยีและด้านการศึกษา ในด้านการศึกษาจะเห็นได้ว่าศึกษาของประเทศสหพันธรัฐเยอรมนีถือว่าเป็นอีกหนึ่งต้นแบบที่หลายประเทศนำไปประยุกต์และปรับใช้ สำหรับความสัมพันธ์ของทั้งสองนี้ในด้านเทคนิคศึกษานั้นจะมีด้านการแลกเปลี่ยนนักวิชาการ ด้านการพัฒนาหลักสูตรและด้านการพัฒนาการเรียนรู้รวมทั้งการให้ทุนส่งเสริมการเรียนการสอนและการให้ทุนวิจัย นอกจากนี้อิทธิพลทางการศึกษาของประเทศสหพันธรัฐเยอรมนีอีกลักษณะหนึ่งคือการเรียนรู้ตลอดชีวิตที่มีต่อคนไทยที่อาศัยในสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี

References

วิชิตวงศ์ ณ ป้อมเพ็ชร สุจิตต์ วงศ์เทศ (บรรณาธิการ), 2544. เศรษฐกิจสยามบทวิเคราะห์ในพระองค์เจ้าดิลกนพรัฐ กรมหมื่นสรรควิสัยนรบดี ดุษฎีบัณฑิตทางเศรษฐศาสตร์จากเยอรมันองค์แรกของสยาม. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มติชน.

ทุนรัฐบาลเยอรมัน สืบค้นจาก https://www.hotcourses.in.th/study-ingermany/applying-to-university/ninescholarships-in-germany เมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน 2566.

สุภางค์ จันทวานิชและคณะ, 2542. การย้ายถิ่นของหญิงไทยไปเยอรมนี: สาเหตุ ชีวิตความเป็นอยู่และผลกระทบในประเทศไทยและเยอรมนี. กรุงเทพมหานคร:คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธงชัย สมบูรณ์, 2534. อิทธิพลทางการศึกษาของต่างประเทศที่มีต่อโครงการศึกษาไทย (พ.ศ.2441-2464).วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณทิต บัณทิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

153 ปี แห่งไมตรี “เยอรมนี” ปิยะมิตรแดนส ย า ม สืบ ค้น จ า ก https://d.dailynews. co.th/article/351289/ เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม

พระบรมราโชวาทของพระบามสมเด็จพระจุล จ อ ม เ ก ล้า เ จ้า อ ยู่หัว สืบ ค้น จ า ก https://kingchulalongkorn.car.chula.ac.th/th/library/

detail/2890 เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2566.

ยนต์ ชุ่มจิต, 2553.ความเป็นครู (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพมหานคร:สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.

วิเชียร แสงอรุณ. 2566. สัมภาษณ์เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2566.

ธงชัย สมบูรณ์ อรนุช ลิมตศิริ และสืบพงษ์ ปราบใหญ่, 2565. “การจัดการอาชีวศึกษาของประเทศไทยกับประเทศเยอรมนี: การศึกษาเปรียบเทียบ”.วารสารบัณทิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยสวนดุสิต.18: 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม)15:29.

CEDEFOP, 2011. The Benefits of Vocational Education Training. Luxemburg:Office of the European Union.

ธงชัย สมบูรณ์, 2565. การศึกษาและการพัฒนาแบบองค์รวม. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สถานทูตในประเทศเยอรมนี สืบค้นจาก https://www.thktranslation.com เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2566.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-12-28

How to Cite

สมบูรณ์ ธงชัย. 2023. “อิทธิพลทางการศึกษาของประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีที่มีต่อเทคนิคศึกษาของประเทศไทย”. วารสารวิศวกรรมศาสตร์และการวิจัยเชิงนวัตกรรม 1 (2). Khon Kaen, Thailand:34-41. https://ph03.tci-thaijo.org/index.php/JEIRKKC/article/view/1192.