การปรับปรุงกระบวนการผลิตด้วยหลักการลดความสูญเปล่า ECRS: กรณีศึกษา กระบวนการผลิตขาธงญี่ปุ่นตั้งป้ายไวนิล

ผู้แต่ง

  • สุภาพร แสนกุล คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น
  • ณัฏฐ์ดนัย สุพัฒน์ธนานนท์ คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น
  • เจษฏา แจ่มแสง คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น
  • วัชรพล แสงดานุช คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น
  • เตวิช รุ่งนภากานต์ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น
  • นราธิป สุพัฒน์ธนานนท์ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น

DOI:

https://doi.org/10.14456/jeit.2025.5

คำสำคัญ:

การลดความสูญเปล่า , การเพิ่มประสิทธิภาพ , การปรับปรุงกระบวนการผลิต

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงกระบวนการผลิตขาธงญี่ปุ่นตั้งป้ายไวนิลโดยใช้หลักการลดความสูญเปล่า ECRS เพื่อลดเวลาและระยะทางในการผลิต รวมถึงกำหนดกระบวนการมาตรฐาน ซึ่งเริ่มต้นจากการศึกษากระบวนการผลิตในปันจุบันด้วยแผนภูมิกระบวนการไหลและแผนภาพไดอะแกรม จากนั้นวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหารากที่แท้จริงของปัญหาโดยการระดมสมองร่วมกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องผ่านแผนภูมิก้างปลา จากนั้นระบุปัจจัยที่ทำให้เกิดความสูญเปล่าด้วยหลักการ ECRS และปรับปรุงกระบวนการผลิตให้เป็นมาตรฐาน การเปรียบเทียบผลการวิจัยจะพิจารณาถึงจำนวนขั้นตอนการปฏิบัติงาน เวลา และระยะทางที่ลดลง ผลการวิจัยแสดงว่า กระบวนการผลิตก่อนการปรับปรุงมี 39 ขั้นตอน ใช้เวลา 12 ชั่วโมง 4 นาที 29 วินาที และระยะทาง 176 เมตร หลังการปรับปรุง จำนวนขั้นตอนลดลงเหลือ 29 ขั้นตอน ใช้เวลา 8 ชั่วโมง 45 นาที 7 วินาที และระยะทาง 127.5 เมตร นั่นคือ สามารถลดขั้นตอนในการปฏิบัติงานได้ร้อยละ 25.64 เวลาในการผลิตลดลงร้อยละ 27.52 และระยะทางลดลงร้อยละ 27.56 จึงสรุปว่าการปรับปรุงกระบวนการผลิตด้วยหลักการลดความสูญเปล่า ECRS สามารถเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน และเพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการผลิตได้อย่างเหมาะสม

References

[1] W. Wu, C. Yang, and X. Li, "Application of extension innovation method in assembly production process optimization," Procedia Computer Science, vol. 214, pp. 412-419, 2022.

[2] R. Selvaraj and V. R. Sathish Kumar, "Productivity improvement in oil free airend assembly," Materials Today: Proceedings, vol. 62, pp. 1065-1071, 2022.

[3] N. Suranuntchai and P. Chutima, "Practical implementation of lean management techniques and ergonomic consideration to improve manual assembly process during the COVID-19 crisis," Engineering Journal, vol. 27, no. 2, pp. 29-43, 2023.

[4] วิชญุตร์ งามสะอาด, ปิยะเนตร นาคสีดี และ ณัฐพล อีงประเสริฐ, "การปรับปรุงกระบวนการผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูปเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต: กรณีศึกษาบริษัท ABC จำกัด," วารสารวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรม, ปีที่ 19, ฉบับที่ 3, หน้า 160-176, ก.ย.–ธ.ค. 2566.

[5] ชลาลัย วงเวียน, อลงกรณ์ ฉัตรเมืองปัก และ สุภารัตน์ ค้างสันเทียะ, "การปรับปรุงประสิทธิภาพในกระบวนการผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูป กรณีศึกษา โรงงานผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูปแห่งหนึ่ง," วารสารวิชาการวิทยสารบูรณาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและวิศวกรรมประยุกต์, ปีที่ 17, ฉบับที่ 1, หน้า 1-14, ม.ค.–มิ.ย. 2567.

[6] J. Ruanggoon, P. Pornpayuhakeit, and P. Opasvitayarux, "Application of lean concepts to improve consumable disbursement process to reduce waiting time in a public hospital in Bangkok," RMUTSB Academic Journal, vol. 8, no. 2, pp. 192-205, 2023.

[7] R. M. Bârsan and F. M. Codrea, "Lean university: Applying the ECRS method to improve an administrative process," MATEC Web of Conferences, vol. 290, pp. 1-6, 2019.

[8] P. Ketchanchai, K. Tangchaidee, and N. Kongprasert, "Lean warehouse management through value stream mapping: A case study of sugar manufacturing company in Thailand," in IEEE 8th International Conference on Industrial Engineering and Applications, Kyoto, Japan, 2021, pp. 192-196.

[9] B. Suhardi, N. Anisa, P. W. Laksono, and P. Lou, "Minimizing waste using lean manufacturing and ECRS principle in Indonesian furniture industry," Cogent Engineering, vol. 6, no. 1, 2019.

[10] R. Saravanan, M. S. Srinivasa Rao, N. Sunkara, and T. Malyadri, "Six sigma’s ECRS technique to down cost and time of manufacturing – An experimental investigation," AIP Conference Proceedings, vol. 2283, no. 1, 2020.

[11] C. Kasemset, C. Boonmee, and P. Khuntaporn, "Application of MFCA and ECRS in waste reduction: A case study of electronic parts factory," in Proceedings of the 2016 International Conference on Industrial Engineering and Operations Management, Kuala Lumpur, Malaysia, 2016, pp. 1844-1853.

[12] W. Wattanutchariya and A. Ounjai, "Efficiency improvement of dried longan production line using ECRS principles," in The 7th International Conference on Logistics and Transport, Lyon, France, 2015.

[13] H. Kelendar and M. A. Mohammed, "Lean and the ECRS principle: Developing a framework to minimise waste in healthcare sectors," International Journal of Public Health and Clinical Sciences, vol. 7, no. 3, pp. 98-110, 2020.

[14] P. Gao and J. Q. Wen, "Process optimization for wiring technology of aircraft harness based on ECRS principle," in 21st International Conference on Industrial Engineering and Engineering Management 2014, Atlantis Press, Paris, 2015, pp. 349-353.

[15] A. K. Nisa, M. Hisjam, and S. A. Helmi, "Improvement of work method with eliminate, combine, rearrange, and simplify (ECRS) concept in a manufacturing company: A case study," Materials Science and Engineering, vol. 1096, pp. 1-10, 2020.

[16] A. F. O. Pertiwi and R. D. Astuti, "Increased line efficiency by improved work methods with the ECRS concept in a washing machine production: A case study," Jurnal Sistem dan Manajemen Industri, vol. 4, no. 1, pp. 13-29, 2020.

[17] พรศิริ คำหล้า และคณะ, "การศึกษาเวลามาตรฐานในกระบวนการผลิตคอนกรีตผสมเสร็จด้วยการจับเวลาโดยตรง," วารสารวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรม, ปีที่ 6, ฉบับที่ 2, หน้า 41-51, ก.ค.–ธ.ค. 2564.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

28-02-2025

How to Cite

[1]
แสนกุล ส., สุพัฒน์ธนานนท์ ณ., แจ่มแสง เ. ., แสงดานุช ว. ., รุ่งนภากานต์ เ. ., และ สุพัฒน์ธนานนท์ น. ., “การปรับปรุงกระบวนการผลิตด้วยหลักการลดความสูญเปล่า ECRS: กรณีศึกษา กระบวนการผลิตขาธงญี่ปุ่นตั้งป้ายไวนิล”, JEIT, ปี 3, ฉบับที่ 1, น. 58–70, ก.พ. 2025.