การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตเพื่อสรรพสิ่งสำหรับการบริหารจัดการงานภาคเกษตร
DOI:
https://doi.org/10.14456/jeit.2024.19คำสำคัญ:
เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตเพื่อสรรพสิ่ง, การบริหารจัดการงานภาคเกษตร, ฟาร์มอัจฉริยะ, เกษตรอัจฉริยะบทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตเพื่อสรรพสิ่งสำหรับการบริหารจัดการงานภาคเกษตรให้สำเร็จ โดยนำเสนอบทบาทเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตเพื่อสรรพสิ่งสำหรับการบริหารจัดการงานภาคการเกษตรในอดีตและปัจจุบัน รวมไปถึงตัวอย่างการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตเพื่อสรรพสิ่งในพื้นที่ทางการเกษตรขนาดเล็กในโรงเรียนในประเทศไทยและการทำฟาร์มอัจฉริยะในประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ซึ่งมีบริบทการทำเกษตรกรรมเช่นเดียวกัน นอกจากนี้ยังได้ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการติดตั้งเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตเพื่อสรรพสิ่งสำหรับการบริหารจัดการงานภาคเกษตรให้สำเร็จ ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการงานภาคการเกษตรให้สำเร็จ ได้แก่ นโยบายภาครัฐ บุคลากร งบประมาณ เวลา และสถานที่ โดยเกษตรกรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจำเป็นต้องเตรียมความพร้อมพัฒนางานภาคเกษตรสู่อนาคตด้วยการบริหารจัดการงานโดยใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยเพื่อส่งเสริมรายได้ที่มั่นคงของเกษตรกรต่อไป
References
[1] รภัสสา จันทาศรี, วิรุณ โมนะตระถูล, สุจริตรา ผาระนัด, และ ฉมามาศ จันทาศรี, "ประสิทธิภาพการผลิตมะระขี้นกอินทรีย์ ระบบ Smart farming ในพื้นที่จังหวัดมหาสารคาม ของประเทศไทย," วารสารเกษตรพระวรุณ, ปีที่ 19, ฉบับที่ 2, หน้า 51–58, 2565.
[2] ชลิญญา สุดา, สายัณห์ อุ่นนันกาศ, โดม อดุลย์สุข, จงกล พรมยะ, และ จอมสุดา ดวงวงษา, "การเลี้ยงปลาชะโอนระดับความหนาแน่นที่แตกต่างกันในระบบน้ำหมุนเวียนแบบปิดขนาดเล็ก ในพื้นที่มีปริมาณน้ำที่จำกัดของต้นแบบเกษตรอัจฉริยะบนระบบไอโอที (IoT)," วารสารแก่นเกษตร, ปีที่ 50, ฉบับที่ 2, หน้า 348–361, 2565.
[3] อุมาพร บ่อพิมาย, นิคม ลนขุนทด, อัษฎา วรรณกายนต์, และ เที่ยงธรรม สิทธิจันทเสน, "ระบบเทคโนโลยีอัจฉริยะเกษตรอินทรีย์," วารสารมหาจุฟ้านาครทรรศน์, ปีที่ 7, ฉบับที่ 11, หน้า 63–78, 2563.
[4] X. Luo, S. Zhu, and Z. Song, "Quantifying the income-increasing effect of digital agriculture: Take the new agricultural tools of smartphone as an example," International Journal of Environmental Research and Public Health, vol. 20, no. 4, p. 3127, 2023. doi: 10.3390/ijerph20043127.
[5] X. Zhang and D. Fan, "Can agricultural digital transformation help farmers increase income? An empirical study based on thousands of farmers in Hubei Province," Environment, Development and Sustainability, vol. 26, no. 6, pp. 14405–14431, 2024. doi: 10.1007/s10668-023-03200-5.
[6] N. B. Kamarul Zaman, W. N. A. Abdul Raof, A. R. Saili, N. N. Aziz, F. A. Fatah, and S. K. N. Vaiappuri, "Adoption of smart farming technology among rice farmers," Journal of Advanced Research in Applied Sciences and Engineering Technology, vol. 29, no. 2, pp. 268–275, 2023. doi: 10.37934/araset.29.2.268275.
[7] A. Sadeghi-Niaraki, "Internet of Thing (IoT) review of review: Bibliometric overview since its foundation," Future Generation Computer Systems, vol. 143, pp. 361–377, 2023. doi: 10.1016/j.future.2023.01.016.
[8] สามารถ สินทร, สิทธิชัย บุษหมั่น, ประมุข ศรีชัยวงษ์, สมโภช ทองน้ำเที่ยง, และ ชนัญชิดา ซองผม, "การพัฒนาระบบเซ็นเซอร์ตรวจจับความผิดปกติของน้ำในท่อประปาภูเขาด้วยเทคโนโลยี IoT เพื่อการเกษตรและอุปโภคของชุมชนตาดรินทอง จังหวัดชัยภูมิ," วารสารเกษตรพระวรุณ, ปีที่ 19, ฉบับที่ 2, หน้า 143–149, 2565. doi: 10.14456/paj.2022.30.
[9] ไพโรจน์ สมุทรักษ์, อำนาจ สวัสดิ์นะที, และ สายชล ทองคำ, "เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตประสานสรรพสิ่งอุปกรณ์ดิจิทัลขนาดย่อม สำหรับการเพาะปลูกข้าวแบบเกษตรอินทรีย์," วารสารวิชาการการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ, ปีที่ 10, ฉบับที่ 1, หน้า 67–82, 2567.
[10] สกรณ์ บุษบง, อมรเพชร ตลับทอง, และ วราวุธ จอสูงเนิน, "การพัฒนาระบบปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ด้วยสมองกลฝังตัวผ่าน NETPIE," วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, ปีที่ 4, ฉบับที่ 1, หน้า 61–72, 2563.
[11] พรทิพย์ กัญญา, ฐิติรัตน์ สีสมาน, กฤตนัย เจียมเกาะ, ปฏิพัทธ์ สีคําแสน, ปภาณไชย สงคราม, พิพัฒน์ ไกลมณี, และ อุมาพร บ่อพิมาย, "การพัฒนาระบบเกษตรอัจฉริยะ," วารสารวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์, ปีที่ 7, ฉบับที่ 1, หน้า 67–82, 2565. doi: 10.14456/journalindus.2022.4.
[12] สุชาติ ดุมนิล, "การพัฒนาระบบรดน้ำเกษตรอัจฉริยะโดยใช้ Internet of Things," วารสารเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี, ปีที่ 4, ฉบับที่ 1, หน้า 112–126, 2566.
[13] ธงชัย เจือจันทร์, นพรัตน์ โพธิ์สิงห์, สุวัฒน์ กล้วยทอง, วีรชัย บุญปก, ทวีวัฒน์ มูลจัด, และ อุรา กันพานิชย์, "การออกแบบและพัฒนาระบบเฝ้าสังเกตข้อมูลและควบคุมการรดน้ำอัตโนมัติตามปัจจัยสภาพแวดล้อมโดยใช้เทคโนโลยีไอโอที," สุรินทร์: มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์, 2565.
[14] T. X. Xaysongkham, Smart Farm Transforming the Future of Agriculture through IoT, Champasak: Department of Education and Sports, Pakse City, 2022.
[15] M. A. M. Al-Obaidi, M. A. H. Radhi, R. S. Ibrahim, and T. Sutikno, "Technique smart control soil moisture system to watering plant based on IoT with arduino uno," Bulletin of Electrical Engineering and Informatics, vol. 9, no. 5, pp. 2038–2044, 2020. doi: 10.11591/eei.v9i5.1896.
[16] K. Bounnady, P. Sibounnavong, K. Chanthavong, and S. Saypadith, "Smart crop cultivation monitoring system by using IoT," in 2019 5th International Conference on Engineering, Applied Sciences and Technology (ICEAST), 2019, pp. 1–3. doi: 10.1109/ICEAST.2019.8802584.
[17] T. Sutikno, A. Nur Wahyudi, T. Wahono, W. Arsadiando, and H. S. Purnama, "Smart irrigation system using node microcontroller unit ESP8266 and Ubidots cloud platform," Computer Science and Information Technologies, vol. 5, no. 2, pp. 168–175, 2024. doi: 10.11591/csit.v5i2.p168-175.
[18] W. Pratama, A. R. Y. Siregar, and M. Wahyudi, "The design of an automatic soil monitoring and watering system for ornamental plants using microcontrollers based on the Internet of Things (IoT)," Instal: Jurnal Komputer, vol. 15, no. 2, pp. 242–250, 2023. doi: 10.54209/jurnalkomputer.v15i02.133.
[19] H. Y. Tung, A. M. I. Bin Pirman, A. Kiring, L. Barukang, M. Mamat, and S. K. Chung, "IoT-based farming system: Soil moisture and temperature control," in 2023 IEEE International Conference on Applied Electronics and Engineering (ICAEE), 2023, pp. 1–5. doi: 10.1109/ICAEE58583.2023.10331161.
[20] สำนักข่าวอีไฟแนนซ์ไทย, "พลิกแปลงเกษตรในโรงเรียน สู่ Smart Farming ซีพีเอฟ หนุนใช้เทคโนโลยี IoT จุดประกายคนรุ่นใหม่," [ออนไลน์]. Available: https://www.efinancethai.com/LastestNews/LatestNewsMain.aspx?ref=A&id=QkJnelJ1WHVTS3c9. [เข้าถึงเมื่อ: 16 ตุลาคม 2567].
[21] วรางกูร อิศรางกูร ณ อยุธยา, "ปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาระบบฟาร์มอัจฉริยะในยุคดิจิทัล: แนวทางแอปพลิเคชันบนมือถือ," วารสารวิชาการสังคมศาสตร์เครือข่ายวิจัยประชาชื่น, ปีที่ 5, ฉบับที่ 3, หน้า 20–41, 2566.
[22] ปริตา ชัยภัทรวงษ์ และ นพดล บุรณนัฏ, "ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการจัดการอุตสาหกรรมเกษตรอัจฉริยะ จังหวัดอุดรธานี," วารสารรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, ปีที่ 7, ฉบับที่ 2, หน้า 465–482, 2567.
[23] เอกลักษณ์ กาญจนนิยม, "รูปแบบการเป็น SMART FARMING ที่ยั่งยืนในชุมชนเมือง," วารสารมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด, ปีที่ 13, ฉบับที่ 1, หน้า 651–663, 2567.
[24] M. Saied, S. Guirguis, and M. Madbouly, "Review of artificial intelligence for enhancing intrusion detection in the internet of things," Engineering Applications of Artificial Intelligence, vol. 127, p. 107231, 2024. doi: 10.1016/j.engappai.2023.107231.
[25] A. A. AlZubi and G. K., "Artificial intelligence and internet of things for sustainable farming and smart agriculture," IEEE Access, vol. 11, pp. 78686–78692, 2023. doi: 10.1109/ACCESS.2023.3298215.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
หมวดหมู่
License
Copyright (c) 2024 วารสารวิศวกรรมและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ลิขสิทธิ์ของวารสาร
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทยก่อนเท่านั้น