การหาระดับปัจจัยที่เหมาะสมในกระบวนการเชื่อมเหล็กกล้าคาร์บอนด้วยหุ่นยนต์แขนกล
DOI:
https://doi.org/10.14456/jeit.2024.1คำสำคัญ:
ออกแบบการทดลอง, การเชื่อม, หุ่นยนต์แขนกล, ระดับปัจจัย, การหาค่าที่เหมาะสมบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มุ่งศึกษาปัจจัยที่เหมาะสมสำหรับการพัฒนาออกแบบการทดลองการเชื่อมด้วยหุ่นยนต์แขนกล เพื่อใช้กับเหล็กกล้าคาร์บอน โดยใช้การออกแบบการทดลองแบบ Box Behnken และทำการทดลองทั้งหมด 30 ครั้ง ปัจจัยที่ศึกษามี 3 ประการ ได้แก่ กระแสไฟฟ้า ความเร็วการป้อนลวด และความเร็วในการเชื่อม สำหรับวัสดุที่ใช้ คือ เหล็กกล้าคาร์บอนที่มีความกว้าง 50 มิลลิเมตร ยาว 150 มิลลิเมตร และหนา 4.5 มิลลิเมตร ใช้ลวดเชื่อม MIG ขนาด 1.2 มิลลิเมตร และแก๊สปกคลุม CO2 100% การทดสอบแรงกดใช้เครื่องทดสอบแรงกด ที่มีความสามารถ 60 Tons (Model 60T) การเชื่อมทำในท่าราบ จากการทดลองพบว่า ระดับค่าปัจจัยที่เหมาะสม คือ กระแสไฟฟ้า 110 แอมแปร์ ความเร็วการป้อนลวด 2.65 เมตรต่อนาที และความเร็วในการเชื่อม 5 มิลลิเมตรต่อวินาที ผลลัพธ์ที่ได้มีความแข็งแรง 5,000 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร และแนวเชื่อมมีคุณภาพสมบูรณ์ ตรงตามเกณฑ์มาตรฐานที่ยอมรับได้
References
[1] Z. Jie, Y. Lan, and Z. Jinhong, "Research on Factors Affecting Laser Welding Quality of Automobile Body," in International Conference on Medicine, Biology, Materials and Manufacturing (ICMBMM 2018), 2018.
[2] Y. Ma, L. Li, T. Bai, and C. Jin, "Quality of Company D Welding Workshop," Advances in Intelligent Systems and Computing, vol. 541, 2017, doi: 10.1007/978-3-319-49568-2_62.
[3] N. Agwan, "Experimental Investigation on Parametric Optimization of MIG welding process on Mild Steel E34 by using Taguchi Technique," International Journal for Research in Applied Science and Engineering Technology, vol. 7, pp. 2675-2679, 2019, doi: 10.22214/ijraset.2019.6454.
[4] S. Singh, B. Samal, S. R. Pradhan, S. Ojha, M. Saffin, and A. Mohanty, "Sustainable Analysis of TIG Parameters for Welding Aluminum Alloy Considering Joint Gap and Welding Current," 2020, doi: 10.1007/978-3-030-30271-9_29.
[5] Y.-J. Tao, W.-C. Guo, C.-J. Miao, and J.-F. Shi, "Study on Electrofusion Welding Process Based on Real-time Ultrasonic Phased Array Video Recording," in IEEE Far East NDT New Technology & Application Forum (FENDT), pp. 66-70, 2020, doi: 10.1109/FENDT50467.2020.9337515.
[6] H. B. Nguyen, M. L. Du, and T. H. Bui, "Design and Manufacture of Welding Fumes Electrostatic Precipitator and Parameter Study on Filtration Performance," Applied Mechanics and Materials, Trans Tech Publications, Ltd., June 22, 2022, doi: https://doi.org/10.4028/p-3302mx.
[7] จักรินทร์ น่วมทิม, อนุชา ขวัญสุข, และ ปิยะมาศ นวลเคน, "การวิจัยศึกษาอิทธิพลของความร้อนที่มีผลต่อการหดตัวของชิ้นงานด้วยเหล็กเกรด 304 จากกระบวนการเชื่อมมิก," คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ, 2557.
[8] ธีรพงษ์ ฉิมเพชร และ สมคิด สุทธิศักดิ์, "การพัฒนาชุดสาธิตเรื่องหุ่นยนต์แขนกลอุตสาหกรรมแบบสคาร่าเคลื่อนที่อิสระ 4 ทิศทางสำหรับการจัดการเรียนการสอนทางด้านวิศวกรรมหุ่นยนต์," คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย, 2564.
[9] ธีระ สรรพอาษา, กิตติภูมิ ทองคำ, เกียรติศักดิ์ แก้วบริสุทธิ์, และ ชานนท์ มูลวรรณ, "การออกแบบการทดลองงานเชื่อมท่อโลหะต่างชนิดเพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อสมบัติเชิงกลด้วยโปรแกรมทางสถิติ," ใน การประชุมวิชาการนวัตกรรมด้านวิศวกรรมและเทคโนโลยีเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ครั้งที่ 2, มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต วิทยาเขตร่มเกล้า, 16 ธันวาคม 2561.
[10] บริษัท สุวิมล จำกัด, "หุ่นยนต์เชื่อมตอบโจทย์โรงงานอุตสาหกรรมได้จริงหรือไม่," [ออนไลน์]. Available: https://www.sumipol.com/knowledge/ welding-robot/. [เข้าถึงเมื่อ: 6 เมษายน 2566].
[11] วิทยา อินทร์สอน, "การพัฒนาใช้รังสีอินฟราเรดเพื่อกำจัดแมลงในข้าวขาวดอกมะลิอินทรีย์ 105," ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ, คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 2555.
[12] วิทยา สุมะลิ และ ระพี กาญจนะ, "การลดของเสียในกระบวนการประกอบชิ้นส่วนหน้าจอโทรศัพท์มือถือ โดยประยุกต์ใช้การออกแบบการทดลอง," ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ, คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, 2560.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
หมวดหมู่
License
Copyright (c) 2024 วารสารวิศวกรรมและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ลิขสิทธิ์ของวารสาร
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทยก่อนเท่านั้น